Page 7 -
P. 7
งานวิจัยเพื่อประชาชน
การพัฒนาผ้าทอมือเพื่อยกระดับสินค้าสู่
OTOP Premium ของชุมชนสายยาว
ต�าบลถลุงเหล็ก อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
กำรขับเคลื่อนด้วยเศรษฐกิจฐำนนวัตกรรม และให้ควำมส�ำคัญกับชุมชนท้องถิ่นที่จะเป็นเศรษฐกิจฐำนรำกของไทย โดยใช้
ควำมร่วมมือในกำรน�ำนวัตกรรมจำกงำนวิจัยระดับอุดมศึกษำมำสร้ำงสรรค์และบูรณำกำรร่วมกับศักยภำพของชุมชนเพื่อให้เกิด
ประสิทธิภำพสูงสุด ส�ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.) ร่วมกับ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ (สกอ.) จึงได้ร่วมกันสร้ำง
‘UCC Network’ ศูนย์กลำงกระจำยเทคโนโลยีและนวัตกรรม และเครือข่ำยวิจัยอุดมศึกษำ 9 แห่ง เพื่อร่วมกันด�ำเนินโครงกำร
Innovation Hubs ในกำรเตรียมควำมพร้อมเข้ำสู่ศตวรรษที่ 21 เพื่อสร้ำงเศรษฐกิจฐำนนวัตกรรมของประเทศไทยตำมนโยบำย Thailand 4.0
โครงกำร Innovation Hubs เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ผลการวิจัยพบว่า
ฐำนนวัตกรรมของประเทศตำมนโยบำย Thailand 4.0 กลุ่มเรื่อง 1. ด้ำนศักยภำพของกลุ่มผู้ผลิตและกลุ่มแปรรูปผ้ำ
เศรษฐกิจสร้ำงสรรค์ (Creative Economy) เป็นควำมร่วมมือ ชุมชนสำยยำว ต�ำบลถลุงเหล็ก อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
ภำยใต้บันทึกข้อตกลงระหว่ำงส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ ชุมชนนี้ถือว่ำมีศักยภำพทั้งกำรทอผ้ำและกำรแปรรูป ซึ่งมี
(วช.) กับส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ (สกอ.) และ ผู้เข้ำร่วมโครงกำรในกำรพัฒนำผ้ำทอ ทั้ง 5 หมู่บ้ำน รวม
เครือข่ำยวิจัยอุดมศึกษำ 9 ภูมิภำค เพื่อร่วมมือกันในกำรด�ำเนินกำร จ�ำนวน 40 รำย และกลุ่มแปรรูปจ�ำนวน 15 รำย แต่ผู้ที่
เผยแพร่ผลงำนในโครงกำร Innovation Hubs โดยตกลงที่จะ สำมำรถตัดเย็บได้ตำมลูกค้ำสั่งจะมีแค่ 3 รำย
ให้ควำมร่วมมือกัน ดังนี้ ศักยภำพด้ำนกำรจ�ำหน่ำย มีตลำดหลักๆ อยู่
1). ร่วมกันสร้ำงเครือข่ำยควำมร่วมมือที่เป็นประโยชน์ 2 แหล่ง คือ ขำยในชุมชนเอง และขำยตลำดเซรำะกรำว ส่วน
ต่อกำรพัฒนำชุมชน และส่งเสริมให้เกิดกำรเรียนรู้ เพื่อที่จะได้ ตลำดอื่น จะเป็นตลำดที่หน่วยงำนภำครัฐในจังหวัดสนับสนุน
น�ำควำมรู้และเทคโนโลยีมำบูรณำกำรกับศักยภำพท้องถิ่น เพื่อ ให้ออกตลำด เช่น มหกรรมสินค้ำ OTOP เมืองทองธำนี
น�ำไปสู่กำรพัฒนำประเทศตำมนโยบำย Thailand 4.0 กรุงเทพมหำนคร และกำรแสดงสินค้ำสำนสัมพันธ์ที่ประเทศ
2). เผยแพร่ผลงำนและข้อมูลกำรเชื่อมโยงระหว่ำง กัมพูชำ
เครือข่ำย เพื่อไปสู่กำรค้นคว้ำและสร้ำงแรงบันดำลใจ ซึ่งจะส่ง 2. ด้ำนกำรพัฒนำผ้ำทอและพัฒนำผลิตภัณฑ์
ผลต่อกำรพัฒนำและต่อยอดศักยภำพต้นทุนของชุมชน ส�ำหรับแปรรูปผ้ำทอชุมชนสำยยำว ซึ่งจำกกำรระดมควำมคิด
3). น�ำองค์ควำมรู้ผลงำนวิจัยและเทคโนโลยี เครือข่ำย และกำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำรพัฒนำผ้ำทอ จึงสรุปได้ว่ำ
วิจัยอุดมศึกษำ ไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่น และเผยแพร่ให้ จะน�ำเส้นฝ้ำยมำทดลองกำรทอแทนกำรใช้เส้นด้ำยประดิษฐ์
สำธำรณะชนได้รับทรำบ เพรำะลูกค้ำต้องกำรผ้ำฝ้ำยมำกกว่ำผ้ำด้ำย และเป็นกำรยก
โดยในครั้งนี้ได้สนับสนุนงำนวิจัยเพื่อเศรษฐกิจ ระดับผ้ำทอให้ไปสู่ OTOP Premium จึงน�ำฝ้ำยมำพัฒนำ
ชุมชนยั่งยืนที่จังหวัดบุรีรัมย์ โครงกำรวิจัยเรื่อง “การพัฒนา ผ้ำทอ โดยเน้นสีธรรมชำติ เพื่อน�ำไปแปรรูป ซึ่งได้พัฒนำลำย
ผ้าทอมือเพื่อยกระดับสินค้าสู่ OTOP Premium ของชุมชน ส�ำหรับกำรทอผ้ำจ�ำนวน 22 แบบ และทอเป็นผ้ำพื้นเรียบ
สายยาว ต�าบลถลุงเหล็ก อ�าเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์” ของ จ�ำนวน 8 แบบ
นำงธัญรัศม์ ยุทธสำรเสนีย์ นักวิจัยหัวหน้ำโครงกำร และ
คณะ (นำยวิชัย เกษอรุณศรี และ นำยสนิท พำรำษฎร์)
งำนวิจัยดังกล่ำวมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำผลิตภัณฑ์ผ้ำทอ
พัฒนำผลิตภัณฑ์ส�ำหรับแปรรูปผ้ำทอ และพัฒนำศักยภำพ
ของกลุ่มผู้ผลิตและกลุ่มแปรรูปผ้ำ ชุมชนสำยยำว รวมถึง
เพื่อส่งเสริมกำรขำยผลิตภัณฑ์ผ้ำทอและผลิตภัณฑ์แปรรูปผ้ำ
ผ่ำนสื่อประชำสัมพันธ์และตลำดออนไลน์
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.) (อ่านต่อหน้า 8)
National Research Council of Thailand (NRCT) 7