Page 15 - nrct111
P. 15

กิจกรรม วช.


          วช. ร่วมมือ ม.เกษตรศาสตร์ และสมาคมปลากัด เปิดตัวโครงการ


          ทรัพยากรชีวภาพปลากัดแห่งชาติ



                 ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
          และสมาคมปลากัด เปิดตัว โครงการ การวิจัยเพื่อการอนุรักษ์เอกลักษณ์ทาง

          พันธุกรรมปลากัดพื้นเมืองอย่างยั่งยืนและการใช้ประโยชน์ความหลากหลาย
          ทางชีวภาพเชิงเศรษฐกิจ เพื่อเป็นจุดศูนย์กลางของความร่วมมือระหว่าง
          องค์กรที่มีความสนใจในการท�างานวิจัยด้านปลากัด พร้อมศึกษา ค้นคว้า และ
          จัดท�าฐานข้อมูลด้านความหลากหลายทางชีวภาพ


                 รองศาสตราจารย์ ดร.นภาวรรณ นพรัตนนราภรณ์   ทางพันธุกรรม นิเวศวิทยา และการแพร่กระจายของปลากัดป่า
          ผู้จัดการโครงการส่งเสริมกิจกรรมการให้ทุนวิจัยมุ่งเป้า  ซึ่งอาศัยอยู่ในแหล่งธรรมชาติของประเทศไทย และท�าการ
          ส�านักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)  เก็บรักษาเอกลักษณ์ทางพันธุกรรมของปลากัดด้วยเทคโนโลยี
          หรือ สพภ. เปิดตัวโครงการ “การวิจัยเพื่อการอนุรักษ์ การแช่แข็งเซลล์และการโคลนนิ่ง

          เอกลักษณ์ทางพันธุกรรมปลากัดพื้นเมืองอย่างยั่งยืนและการ     ทั้งนี้ โครงการดังกล่าว เป็นความร่วมมือระหว่าง
          ใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพเชิงเศรษฐกิจ” พร้อม ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
          ประชุมหารือเกี่ยวกับการวางแผนงานโครงการวิจัยระหว่าง และสมาคมปลากัด โดยการประชุมจัดขึ้นเพื่อปรึกษาหารือ

          ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสมาคมปลากัด เมื่อวันที่   และวางแนวทางของโครงการ เพื่อให้สามารถสร้างประโยชน์
          29 มิถุนายน 2563 ณ ห้อง 202 ชั้น 2 อาคารทวี ญาณสุคนธ์   ให้ประเทศชาติได้สูงสุด ไม่ว่าจะเป็นการใช้ความรู้ที่ได้จากการ
          คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อเป็น วิจัยมาใช้ในการอนุรักษ์ การปรับปรุงพันธุ์ การขยายพันธุ์ และ
                               จุดศูนย์กลางของความร่วมมือ การผสมข้ามสายพันธุ์ โดยงานวิจัยนี้ จะเป็นการริเริ่มการท�า
                                     ระหว่างองค์กรต่าง ๆ ที่ โคลนนิ่งปลากัดเป็นครั้งแรก สามารถเผยแพร่งานวิจัยในระดับ

                                        มีความสนใจในการ  นานาชาติ ท�าให้ปลากัดของไทยเป็นที่สนใจในเวทีวิชาการ
                                         ท�างานวิจัยด้านปลากัด   ระดับโลก และพัฒนานิสิตระดับปริญญาโท/เอก และบุคลากร
                                         พร้อมศึกษา ค้นคว้า  ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย อีกทั้ง ยังเป็นการยกระดับชนิดและ

                                        และจัดท�าฐานข้อมูล สายพันธุ์ของปลากัดไทย ให้มีคุณค่าแก่การเป็นสัตว์น�้า
                                     ด้านความหลากหลายทาง ประจ�าชาติมากยิ่งขึ้นตามแนวนโยบายรัฐ
                              ชีวภาพ อนุกรมวิธาน เอกลักษณ์





























         สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16