Page 7 - NRCT_117
P. 7
งานวิจัยเพ� อประชาชน
โครงการถายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิล
เพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ปจจุบันประเทศไทยมีขยะพลาสติกประมาณปละ 2.7 ลานตัน
แตเราสามารถนําไปรีไซเคิลไดเพียง 0.2 ลานตันเทานั้น ที่เหลือจะถูกนําไป
ทําลายโดยวิธีการเผาและฝง โดยเฉพาะอยางยิ่งถุงพลาสติกที่เราใชบรรจุ
อาหารและสินคาทุกวัน เปนถุงที่ผลิตมาจากเม็ดพลาสติกที่ใชเชื้อเพลิง
ฟอสซิลเปนวัตถุดิบ ซึ่งสามารถทําการผลิตไดงายรวดเร็ว ปริมาณมาก
และตนทุนตํ่า เมื่อนํามาใชจะมีอายุการใชงานสั้น และสวนใหญเปนการ
ใชเพียงครั้งเดียวแลวพรอมที่จะกลายเปนขยะไดในทันที เปนภาระในการ
จัดเก็บและกําจัดอยางมาก เนื่องจากคุณลักษณะที่เบาบาง และมีปริมาณมาก
จึงปะปนกับมูลฝอยประเภทอื่น ๆ ทําใหการยอยสลายมูลฝอยเปนไปได
ยากมากและตองใชพื้นที่ในการฝงกลบจํานวนมาก อีกทั้งถุงพลาสติก
1 ใบ ตองใชเวลายอยสลายนานถึง 450 ป เปนอยางนอย
พื้นที่ในบริเวณที่ฝงกลบขยะถุงพลาสติกนั้นจะไม ที่มาจากแหลงกําเนิดเดียวกันคืออุตสาหกรรมปโตรเคมี อีกทั้ง
สามารถทําการเกษตรไดอีกเลยในระยะเวลา 400 - 500 ป ถุงพลาสติกยังเปนวัสดุที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกับยางมะตอย
หรือถานําไปเผาจะมีกาซคารบอนไดออกไซด ที่เปนกาซ และยังอยูในลําดับชั้นการผลิตที่สูงกวา ดังนั้น การใสขยะ
เรือนกระจก มีคุณสมบัติอมความรอน ไปปกคลุมอยูรอบโลก ถุงพลาสติกลงไปในยางมะตอยนั้นจึงมีโอกาสที่จะเพิ่มคาความ
ทําใหโลกรอนขึ้น วิธีที่เหมาะสมที่สุดในการชะลอหรือลดอัตรา เสถียรภาพใหกับผิวถนนลาดยางมากยิ่งขึ้นและมีความคงทน
การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไปสูชั้นบรรยากาศ คือ การ ถาวรใชงานไดยาวนานกวา
สรางแหลงกักเก็บคารบอน (Carbon Sink) ซึ่งสามารถทําได การนําขยะถุงพลาสติกมาทําเปนถนนรีไซเคิล
โดยการปลูกตนไมเพื่อกักคารบอน หรือหาแหลงกักเก็บวัสดุ เปรียบเสมือนการฝงกลบขยะถุงพลาสติกลงในพื้นที่ที่ไม
ที่มีสารคารบอนไว ใชประโยชนทางดานกสิกรรมใด ๆ และไมมีการสงกาซ
โครงการถายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะ คารบอนไดออกไซดปลอยออกไปสูชั้นบรรยากาศของโลก
พลาสติก 4 ภูมิภาค เปนแนวทางหนึ่งที่ชวยลดอัตราการปลอย อีกทั้งยังเปนการแกไขปญหาขยะพลาสติกภายในชุมชน
กาซคารบอนไดออกไซดไปสูชั้นบรรยากาศ หรือสรางแหลง ไดอยางมีประสิทธิภาพและยังสามารถรักษาคุณภาพของ
กักเก็บคารบอน (Carbon Sink) เอาไว โดยนําเอาขยะถุงพลาสติก สิ่งแวดลอมใหอยูในระดับที่เหมาะสมตอการดํารงคุณภาพชีวิต
มาผสมกับยางมะตอยแลวนําไปสรางผิวถนนลาดยางเพื่อการ ที่ดีและไมเปนภัยคุกคามตอระบบนิเวศอีกดวย
สัญจรทั่วไป เนื่องจากถุงพลาสติกและยางมะตอยเปนวัสดุ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) (อานตอหนา 8) 7