Page 15 - NRCT121
P. 15
กิจกรรม วช.
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร
“การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยที่สอดคล้องกับการวิจัย
และนวัตกรรมในมิติใหม่” รุ่นที่ 2 ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล นายสมปรารถนา สุขทวี
ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย รองผู้อำานวยการสำานักงานการวิจัยแห่งชาติ
และนวัตกรรม บรรยายพิเศษ ประธานกล่าวเปิดการอบรม
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยที่สอดคล้องกับ
การวิจัยและนวัตกรรมในมิติใหม่” รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 19 - 21 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ผ่านระบบประชุม
ทางไกลผ่านจอภาพ (Video Conference) เพื่อพัฒนาศักยภาพและความเชี่ยวชาญแก่อาจารย์ นักวิจัยรุ่นใหม่ในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ได้เรียนรู้ เข้าใจ หลักการ แนวคิด และเทคนิคในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยที่สอดคล้องกับการวิจัยและนวัตกรรมในมิติใหม่ และ
สามารถเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยตามหลักของการเขียนข้อเสนอโครงการที่ดีอย่างถูกต้องและเป็นรูปธรรม เพื่อขอรับทุนสนับสนุน
การวิจัยและนวัตกรรมจาก วช. หรือแหล่งทุนวิจัยอื่น ๆ และสอดคล้องกับการขับเคลื่อนการด�าเนินงานตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)
การฝึกอบรมในครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม มาบรรยายพิเศษในหัวข้อเรื่อง “นโยบายการวิจัยและการสร้างแรงบันดาลใจในการท�าวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น”
พร้อมทั้งได้รับความรู้จากวิทยากรพิเศษ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ
ที่มีความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ด้านการวิจัย คณะกรรมการ
อ�านวยการขับเคลื่อนการด�าเนินงานของ วช. เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นฯ และผู้บริหาร
และบุคลากรส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ
การตรวจเยี่ยม “การวิจัยเพื่อการอนุรักษ์เอกลักษณ์ทางพันธุกรรมปลากัดพื้นเมืองอย่าง
ยั่งยืนและการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพเชิงเศรษฐกิจ”
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
(อว.) ตรวจเยี่ยมโครงการ “การวิจัยเพื่อการอนุรักษ์เอกลักษณ์ทางพันธุกรรมปลากัดพื้นเมือง
อย่างยั่งยืนและการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพเชิงเศรษฐกิจ” ณ คณะประมง
คณะวิทยาศาสตร์ และคณะสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน) เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2564
วช. น�าโดย รองศาสตราจารย์ ดร.นภาวรรณ นพรัตนราภรณ์ ประธานคณะผู้ตรวจสอบ
ทางวิชาการโครงการการวิจัยเพื่อการอนุรักษ์เอกลักษณ์ทางพันธุกรรมปลากัดพื้นเมืองอย่างยั่งยืน
และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพเชิงเศรษฐกิจ พร้อมด้วยคณะผู้ตรวจสอบ
ทางวิชาการโครงการฯ ได้แก่ ศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจ�านงค์ นายอภิชาติ เติมวิชชากร และนายวงศ์ปฐม กมลรัตน์ ได้ลงพื้นที่
ตรวจเยี่ยมโครงการ “การวิจัยเพื่อการอนุรักษ์เอกลักษณ์ทางพันธุกรรมปลากัดพื้นเมืองอย่างยั่งยืนและการใช้ประโยชน์ความ
หลากหลายทางชีวภาพเชิงเศรษฐกิจ” โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครศร ศรีกุลนาถ ผู้อ�านวยการแผนงาน ให้การต้อนรับ
โดยคณะผู้ตรวจสอบฯ ได้เข้าตรวจเยี่ยมโครงการย่อยที่ 1 “การส�ารวจเชิงนิเวศวิทยาและการพัฒนาทางสัณฐานวิทยาของ
ปลากัดป่าและปลากัดสวยงาม ในประเทศไทย” (คณะประมง), โครงการย่อยที่ 2 การพัฒนาลายพิมพ์ดีเอ็นเอและวิธีการพิสูจน์เอกลักษณ์
ของปลากัดป่าและปลากัดสวยงามในประเทศไทย เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์น�้า
ประจ�าชาติและเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (คณะวิทยาศาสตร์) และ
โครงการย่อยที่ 3 การโคลนนิ่งปลากัดเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลาย
ทางชีวภาพของสัตว์น�้าประจ�าชาติอย่างยั่งยืน (คณะสัตวแพทย์)
ซึ่งการตรวจเยี่ยมโครงการดังกล่าว คณะผู้ตรวจสอบฯ ได้รับฟัง
การบรรยายวิธีการด�าเนินงาน ตลอดจนปัญหาอุปสรรค รวมทั้งเยี่ยมชม
ห้องปฏิบัติการ และห้องเก็บตัวอย่างปลากัด
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 15