Page 10 - จดหมายข่าว วช 140
P. 10

งานวิจัย : การบริหารจัดการน้ํา


                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                     งานวิจัย “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกŒา
                             ตามรอยพระราชดําริ แกŒ
                             ตามรอยพระราชดําริ แกŒ
                             ตามรอยพระราชดําริ แกŒไขป˜ญหานํ้าท‹วมอย‹างยั่งยืน”ไขป˜ญหานํ้าท‹วมอย‹างยั่งยืน”ไขป˜ญหานํ้าท‹วมอย‹างยั่งยืน”
                                     สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ
                              นวัตกรรม ไดŒสนับสนุนทุนวิจัยโครงการ “การปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้า
                              พระรามเกŒาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ภายใตŒสภาวะการลดลงของระดับนํ้าอย‹างรวดเร็ว
                              จากภัยแลŒง” ใหŒแก‹ ผูŒช‹วยศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์ ละอองจันทร แห‹ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
                              ราชมงคลธัญบุรี และคณะ เพื่อศึกษาเสถียรภาพและการเคลื่อนตัวของลาดตลิ่งภายใตŒ
                              สภาวะเปลี่ยนแปลงระดับนํ้า พรŒอมทั้งปรับปรุงลาดตลิ่งของสระเก็บนํ้าพระรามเกŒากักนํ้า
                              ไวŒใชŒในยามแลŒง และบรรเทาป˜ญหานํ้าท‹วมในเขตพื้นที่ตอนล‹าง   ผูชวยศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์ ละอองจันทร
                                                                                           แหง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
            ดร.วิภารัตน ดีออง
      ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
              ดร.วิภารัตน  ดีออง  ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
       ไดกลาวถึงที่มาของการสนับสนุนทุนวิจัยวา วช. ไดใหความสําคัญในการสงเสริม
       และการดําเนินงานโครงการวิจัยและนวัตกรรมในการนํางานวิจัยมาสนับสนุน
       การวิเคราะหถึงสาเหตุและแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในเชิงพื้นที่ โดยใหทุนสนับสนุน
       ทุนวิจัยโครงการปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกา
       อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ภายใตสภาวะการลดลงของระดับนํ้าอยางรวดเร็ว
       จากภัยแลง ของ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์ ละอองจันทร แหง มหาวิทยาลัย
       เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณะ นับเปนสวนหนึ่งในการชวยบรรเทาปญหา
       อุทกภัย ปญหาภัยแลง และคํานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของประชาชนเปนสําคัญ   จากการวิเคราะหลักษณะการเคลื่อนตัวของลาดตลิ่งและคาอัตราสวน
       ภายใตงานวิจัยที่จะเขามามีสวนชวยไดอยางเปนรูปธรรมอยางยั่งยืนตอไป   ความปลอดภัย (Factor of Safety, FS.) พบวา ควรควบคุมระดับนํ้าของ
                                                              สระเก็บนํ้าพระรามเกา ใหอยูที่ระดับไมตํ่ากวา -2.00 เมตร จากระดับนํ้าทะเล
                                                              ปานกลาง เนื่องจากถาระดับนํ้าลดลงตํ่ากวา -2.00 เมตร จะสงผลใหลาดตลิ่ง
                                                              บริเวณที่มีความลาดชันสูงเกิดการพังทลาย ตอมาคณะนักวิจัยไดทําการ
                                                              สํารวจทางนํ้าโดยเครื่องหยั่งความลึก โดยบริเวณที่มีลาดตลิ่งชันมากเปนจุดที่
                                                              นาจะมีความเสถียรภาพของลาดดินที่มีคาตํ่านําผลที่ไดดังกลาวไปวิเคราะห
                                                              เสถียรภาพตอ จากนั้นทําการเจาะสํารวจชั้นดินแบบฉีดลาง (Wash Boring)
                                                              จํานวน 6 หลุม นําตัวอยางดินที่ไดจากการเจาะสํารวจมาทดสอบในหองปฏิบัติการ
                                                              เพื่อทําการหาคุณสมบัติของดินโดยจะนําขอมูลมาวิเคราะหเสถียรภาพของ
                                                              ลาดดินดวยโปรแกรม PLAXIS 2D และทําการศึกษาการปรับปรุงเสถียรภาพ
                                                              ของลาดดินสระเก็บนํ้าพระรามเกาเพื่อใหมีความมั่นคงตอไป
                                                                     ทั้งนี้ มูลนิธิชัยพัฒนาและการประปาสวนภูมิภาคที่ผลิตนํ้าประปา
                                                              ยังไดรับประโยชนจากการใชนํ้าในสระเก็บนํ้าพระรามเกาและสามารถนํา
              ผูชวยศาสตราจารย ดร.วีระศักดิ์ ละอองจันทร แหง มหาวิทยาลัย  ผลการวิจัยมาใชในการรักษาระดับนํ้าในสระเก็บนํ้าพระรามเกาไมใหลดลง
       เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กลาวถึงผลการศึกษาวิจัยวา ผลการศึกษาของ  ตํ่ากวา -2.00 เมตร จากระดับนํ้าทะเลปานกลางเนื่องจากมีผลตอลาดตลิ่ง
       คณะนักวิจัยภายใตโครงการปรับปรุงเสถียรภาพลาดตลิ่งในสระเก็บนํ้าพระรามเกา  เปนอยางมากเพื่อไมใหเกิดการพังทลายของลาดตลิ่งอันเนื่องมาจากการลดลง
       อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ภายใตสภาวะการลดลงของระดับนํ้าอยางรวดเร็ว  ของระดับนํ้าอยางรวดเร็ว นับเปนงานวิจัยที่ชวยในเรื่องของการเก็บกักนํ้าไวใช
       จากภัยแลง โดยไดศึกษาถึงสาเหตุอันเนื่องมาจากสภาวะการลดลงของระดับนํ้า   ในยามแลง หรือการระบายนํ้า ลดความรุนแรงของปญหานํ้าทวมในพื้นที่
       (Drawdown Conditions) ทําใหเกิดการเพิ่มขึ้นของแรงดันนํ้าในโพรงดิน เปน  โดยรอบแลว เมื่อมองอยางลึกซึ้ง แนวพระราชดําริแกมลิง ดังเชนโครงการ
       สาเหตุใหกําลังตานทานแรงเฉือนลดลง พบวาพื้นที่ในสระเก็บนํ้าพระรามเกานั้น   สระเก็บนํ้าพระรามเกานี้ ยังผสานแนวคิดในการอนุรักษนํ้านับเปนงานวิจัย
       มีการเคลื่อนตัวของลาดตลิ่งสูงสุดที่ระดับนํ้า +2.00 เมตร BH-2 มีการเคลื่อนตัว  ที่ชวยแกไขปญหาเรื่องนํ้าไดอยางแทจริง
       ของลาดตลิ่งสูงสุดที่ระดับนํ้า +1.25 เมตร และ BH-3 มีการเคลื่อนตัวของ
       ลาดตลิ่งสูงสุดที่ระดับนํ้า -0.50 เมตร จากผลการวิเคราะหที่ระดับนํ้า -0.50 เมตร
       ของหลุมเจาะ BH-3 มีการเคลื่อนตัวสูงสุด และจากการเปรียบเทียบคาอัตราสวน
       ความปลอดภัย (Factor of Safety, FS.) ของ BH-1 ถึง BH-3 มีคาอัตราสวน
       ความปลอดภัย (Factor of Safety, FS.) มากที่สุดเทากับ 3.023 ในหลุมเจาะ
       BH-3 และนอยที่สุดเทากับ 0.926 ในหลุมเจาะ BH-1

                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         10                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15