Page 16 - จดหมายข่าว วช 144
P. 16

กิจกรรม วช.


         วช. รวมใจชวยผูประสบภัยและไดรับผลกระทบจากเหตุการณแผนดินไหวในตุรกีในตุรกีในตุรกี
         วช. รวมใจชวยผูประสบภัยและไดรับผลกระทบจากเหตุการณแผนดินไหว
         วช. รวมใจชวยผูประสบภัยและไดรับผลกระทบจากเหตุการณแผนดินไหว
               พลอากาศเอก อลงกรณ วัณณรถ ผูบัญชาการทหารอากาศ รับมอบ
        ถุงยังชีพและเงินสนับสนุนชวยเหลือผูประสบภัยจากเหตุแผนดินไหวสาธารณรัฐ
        ตุรกีจาก ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ และคณะ
        ผูบริหารสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เมื่อวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ 2566 ณ
        หองรับรองกองทัพอากาศ กองบัญชาการกองทัพอากาศ
               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
        วิจัยและนวัตกรรม ขอรวมเปนสวนหนึ่งในการสงกําลังใจ และรวมสนับสนุน
        ความชวยเหลือผูประสบภัยจากเหตุการณแผนดินไหว ณ สาธารณรัฐตุรกี ผาน
        การดําเนินงานการชวยเหลือของกองทัพอากาศ ในดานเวชภัณฑ ของยังชีพ และ
        การดําเนินงานบรรเทาสถานการณใหแกผูประสบภัยแผนดินไหวในดานตาง ๆ

              วช. จัดกิจกรรม CSR เพื่อสังคม สงตอรอยยิ้มใหผูบกพรองทางการมองเห็น


                          และผูยากไรที่มีความเดือดรอนในพื้นที่ตาง ๆ ทั่วประเทศ

                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
                                             โดย นายเอนก บํารุงกิจ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ พรอมคณะอนุกรรมการสวัสดิการ
                                             สํานักงานการวิจัยแหงชาติ ดานสาธารณประโยชน และคณะกรรมการจริยธรรม เปนผูแทนนํา “ปฏิทิน
                                             ตั้งโตะที่ไมใชแลว” และ “กลองเครื่องดื่ม UHT ใชแลว” ที่บุคลากร วช. ไดรวมกันบริจาค ไปมอบให
                                             กับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อนําไปใชประโยชน สงตอรอยยิ้มใหผูบกพรองทางการมองเห็นและผูยากไร
                                             ที่มีความเดือดรอนในพื้นที่ตาง ๆ ทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2566
                                                    กิจกรรม CSR ชวยเหลือสังคม โดยบุคลากร วช. รวมกันบริจาค “ปฏิทินตั้งโตะที่ไมใชแลว”
                                             โดยนําไปมอบใหกับศูนยเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อคนตาบอด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพื่อให
                                             นําไปจัดทําเปนหนังสืออักษรเบรลลใชเปนสื่อในการเรียนการสอนแกผูบกพรองทางการมองเห็น
                                             นอกจากนี้ยังไดรวมกันบริจาค “กลองเครื่องดื่ม UHT ใชแลว” ใหกับมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภา) ยามยาก
                                             สภากาชาดไทย และเครือขาย เพื่อนําไปรีไซเคิลเปนผลิตภัณฑใหมในหมวดวัสดุกอสราง อาทิ
                                             แผนหลังคา ผนังจากไมเทียมสังเคราะห อิฐบล็อก วงกบประตู และอื่น ๆ ที่จะชวยสราง “บาน”
                                             ใหกับผูประสบภัยพิบัติและผูยากไรที่มีความเดือดรอนในพื้นที่ตาง ๆ ทั่วประเทศ ซึ่งเปนไปตามแผน
                                             สงเสริมคุณธรรม จริยธรรมของ วช.
            ม.เกษตรศาสตร เยี่ยมชมศูนยเกษตรวิถีเมือง วช.


               ส ส
               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
        โดย นางสาวเสาวนีย มุงสุจริตการ เลขานุการกรม วช. ใหการตอนรับ คณาจารยและคณะนักศึกษาจาก
        มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ใหความสนใจเขาเยี่ยมชมนวัตกรรมตนแบบในศูนยเกษตรวิถีเมือง วช.
        เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2566 โดยคณะผูเขาเยี่ยมชมงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประกอบดวย
        ดร.ภรพัสดุ ศิริคุรุรัตน และ ดร.สุชล มัลลิกะมาลย อาจารยประจําภาควิชา คณะสถาปตยกรรมศาสตร
        และนักศึกษาจํานวน 47 คน โดยมีทีมวิทยากรของโครงการศูนยเกษตรวิถีเมือง รวมใหความรู ไดแก
        อาจารยกฤษฎา พลทรัพย อาจารยระพี บุญบุตร และ ดร.มนสินี อรรถวานิช
               ศูนยเกษตรวิถีเมือง วช. เปนโครงการพัฒนาพื้นที่การใชประโยชนสําหรับการปลูกพืชในเมือง
        เพื่อทดลอง รวบรวม และสาธิต การใชประโยชนนวัตกรรมและองคความรูในการเพาะปลูกพืชอาหาร
        ภายใตแนวคิด Adaptive Reuse โดยนํานวัตกรรมจากงานวิจัยมากกวา 30 เทคโนโลยี มารวมพัฒนา
        ใหเกิดการผลิตพืชผักผลไม ซึ่งในการนี้ วช. ยังรวมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร
        ลาดกระบัง และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ไดนําวัสดุเหลือใช
        จากการผลิต ที่เกิดจากแนวคิด Recycle Upcycle มาใชเปนนวัตกรรมในการพัฒนาพื้นที่ศูนยเกษตร
        วิถีเมือง วช. ดวย อาทิ อิฐบล็อกจากขยะโรงไฟฟา ยางมะตอยลาดพื้นถนนจากพลาสติกเหลือใช นอกจากนี้
        วช. ยังใหความสําคัญกับการนํานวัตกรรมเพื่อการประหยัดพลังงานมาใชในการพัฒนาพื้นที่ อาทิ
        นวัตกรรมประหยัดพลังงานดวยพลังงานลม นวัตกรรมการใชพลังงานแสงอาทิตยอยางเหมาะสม
        เปนตน เพื่อเปนตนแบบในการปลูกพืชในเมืองใหกับหนวยงานตาง ๆ
        เปนตน เพื่อเปนตนแบบในการปลูกพืชในเมืองใหกับหนวยงานตาง ๆ
        เปนตน เพื่อเปนตนแบบในการปลูกพืชในเมืองใหกับหนวยงานตาง ๆ ที่สนใจที่สนใจที่สนใจที่สนใจ
        เปนตน เพื่อเปนตนแบบในการปลูกพืชในเมืองใหกับหนวยงานตาง ๆ
        เปนตน เพื่อเปนตนแบบในการปลูกพืชในเมืองใหกับหนวยงานตาง ๆ ที่สนใจ
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16