Page 12 - จดหมายข่าว วช 159
P. 12

วิศวกรสังคม



              มรภ.สุราษฎรธานี รวมพัฒนาผลิตภัณฑ
              มรภ.สุราษฎรธานี รวมพัฒนาผลิตภัณฑ
              มรภ.สุราษฎรธานี รวมพัฒนาผลิตภัณฑ
                 ชุมชนดวยกระบวนการว�ศวกรสังคม
                 ชุมชนดวยกระบวนการว�ศวกรสังคม












               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ลงพื้นที่ติดตามผลการดําเนินงานโครงการบมเพาะวิศวกรานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ลงพื้นที่ติดตามผลการดําเนินงานโครงการบมเพาะวิศวกรานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ลงพื้นที่ติดตามผลการดําเนินงานโครงการบมเพาะวิศวกรานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนว
               สํ สํ สํ
        สังคมดวยวิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ พรอมผูทรงคุณวุฒิ วช. ลงพื้นที่เพื่อติดตามการดําเนินงานโครงการ
        วิจัยที่ วช. ไดใหการสนับสนุนแกทีมวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี เพื่อดําเนินงานวิจัยโครงการหองเรียนวิศวกรสังคมสําหรับพัฒนานักศึกษาและการ
        ยกระดับนวัตกรรมชุมชนทองถิ่น ดวยกระบวนการวิศวกรสังคม โดยมี ดร.พลกฤต แสงอาวุธ รองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษาและศิษยเกา เปนหัวหนาโครงการ
        เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2567 ณ วิสาหกิจชุมชน ตําบลทาขนอน อําเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎรธานี
               การดําเนินการวิจัยการบมเพาะวิศวกรสังคมดวยกระบวนการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อแกโจทยปญหาเชิงพื้นที่ โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี
        ไดเลือกประเด็นการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนดวยทักษะกระบวนการวิศวกรสังคมเพื่อนําความรูมาพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยวิศวกรสังคมเขามามีสวนรวมกันพัฒนา
        โจทยและการปฏิบัติงานรวมกับทองถิ่นไดอยางมีสวนรวม เปนตนแบบที่ดีในการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ ไดสงเสริมและพัฒนาใหนักศึกษามีคุณลักษณะที่สําคัญ 4
        ประการตามพระบรมราโชบายดานการศึกษา ไดแก 1) มีทัศนคติที่ดีและถูกตองตอบานเมือง 2) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง 3) มีงานทํามีอาชีพ และ 4) เปนพลเมืองดี
        เพื่อพัฒนานักศึกษาใหมีทักษะวิศวกรสังคม 4 ประการ คือ นักคิด นักสื่อสาร นักประสาน และนักนวัตกร และสรางนวัตกรรมใหแกชุมชนทองถิ่นโดยการขับ
        เคลื่อนของนักศึกษาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑชุมชนทองถิ่นของจังหวัดสุราษฎรธานี พรอมนี้ คณะไดเยี่ยมชมผลงานของวิศวกรสังคมที่รวมดําเนินการกับวิสาหกิจ
        ชุมชน ไดแก ยาดมสมุนไพรจากบานคีรีสมุนไพร ตําบลทาขนอน และผลิตภัณฑกานปาลมจักสาน ตําบลบานยาง อําเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎรธานี ทั้งนี้
        ผูทรงคุณวุฒิ วช. คณะนักวิจัย และนักศึกษาไดรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากการดําเนินงานของโค รงการเพื่อใหมีการตอยอดความรูที่ยั่งยืนในอนาคต


                        การบมเพาะว�ศวกรสังคมดวยกระบวนการว�จัยและนวัตกรรม
                        การบมเพาะว�ศวกรสังคมดวยกระบวนการว�จัยและนวัตกรรม
                        การบมเพาะว�ศวกรสังคมดวยกระบวนการว�จัยและนวัตกรรม
                        การบมเพาะว�ศวกรสังคมดวยกระบวนการว�จัยและนวัตกรรม
                        การบมเพาะว�ศวกรสังคมดวยกระบวนการว�จัยและนวัตกรรม
                                เพ�่อยกระดับผลิตภัณฑชุมชนและการทองเที่ยว














               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการ
        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ และผูทรงคุณวุฒิ วช. ลงพื้นที่ติดตามผลการดําเนินงานโครงการบมเพาะวิศวกรสังคมดวยวิจัยและนวัตกรรม
        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ และผูทรงคุณวุฒิ วช. ลงพื้นที่ติดตามผลการดําเนินงานโครงการบมเพาะวิศวกรสังคมดวยวิจัยและนวัตกรรม
        แกทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2567 ณ อําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช
               วช. ไดสนับสนุนทุนวิจัยแกมหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แหงทั่วประเทศ ในการบมเพาะวิศวกรสังคมดวยกระบวนการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อแกโจทย
        ปญหาเชิงพื้นที่ โดยอาศัยแนวทางกระบวนการ “วิศวกรสังคม” โดย วช. สนับสนุนใหมีกระบวนการนําวิศวกรสังคมที่ผานการบมเพาะนําความรูไปพัฒนา
        พื้นที่ดวยวิจัยและนวัตกรรม โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ไดเลือกประเด็นการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนดวยทักษะกระบวนการวิศวกรสังคมเพื่อนํา
        ความรูมาพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยวิศวกรสังคมเขามามีสวนรวมกันพัฒนาโจทยและการปฏิบัติงานรวมกับทองถิ่นไดอยางมีสวนรวม เปนตนแบบที่ดีในการพัฒนาชุมชน
        ในพื้นที่ใหเกิดความเขมแข็งอยางยั่งยืนตอไป
               พรอมนี้ คณะไดเดินทางไปเยี่ยมชมโครงการที่กระบวนการวิศวกรสังคมรวมดําเนินการกับเครือขาย
        ชุมชน ไดแก
               1. กลุมผลิตภัณฑ อาทิ เครื่องแกงตํามือ ไมกวาดดอกหญา กลวยฉาบรสตาง ๆ ปลาดุกไสอวน
        ผามัดยอม แกงไตปลาอื้อ (อาหารพื้นถิ่น) และขนมพื้นถิ่น
               2. กลุมทองเที่ยว อาทิ วัดภูเขาเหล็ก ตําบลนบพิตํา อําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรีธรรมราช
        การทําผามัดยอมดินเหมืองแร โคกหนองนาโมเดล และการทําสปาทราย
               ทั้งนี้ ผูทรงคุณวุฒิ วช. คณะนักวิจัย และนักศึกษาวิศกรสังคม ไดรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผล
        สําเร็จจากการดําเนินโครงการดังกลาว เพื่อการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑชุมชนในพื้นที่ตอไป
                                                                                      สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         12                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16