Page 14 - จดหมายข่าว วช ฉบึบที่ 163
P. 14

งานวิจัยสรางสังคมปลอดภัย


















                                                   การขับเคลื่อนงานว�จัยเพ�่อเด็กและารขับเคลื่อนงานว�จัยเพ�่อเด็กและ
                                                   ก

                                                   เยาวชนไทยดŒวยว�จัยและนวัตกรรมยาวชนไทยดŒวยว�จัยและนวัตกรรม
                                                   เ




               สํานักงานการว�จัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  ซึ่งแผนงานวิจัยสังคมไทยไรความรุนแรง ที่ วช. ใหการสนับสนุนเปน
        ว�ทยาศาสตร ว�จัยและนวัตกรรม จัดการเสวนา เร�่อง “สรŒางสังคมปลอดภัย  ตัวอยางของงานวิจัยที่ใชแกปญหาของเด็กและเยาวชน เปนแนวทางที่
        เพ�่อเด็กและเยาวชนไทยดŒวยว�จัยและนวัตกรรม” เพ�่อนําเสนอผลงานว�จัยและ สามารถนําไปปรับใชไดในวงกวาง เชน การนําหลักธรรมทางพุทธศาสนา
        นวัตกรรม ที่น‹าสนใจและเปšนประโยชนต‹อการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย มาใชในการปองกันการกระทําผิด หรือการสรางโรงเรียนตนแบบเพื่อ
        ใหŒเติบโตอย‹างมีคุณภาพ โดยมี ดร.ว�ภารัตน ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงาน ปองกันการกลั่นแกลง ซึ่งองคประกอบที่สําคัญที่สุดในแนวทางนี้คือ
        การว�จัยแห‹งชาติ เปšนประธานเปดการเสวนา เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2567  การตระหนักถึงบทบาทของเด็กและเยาวชน ในฐานะที่เปนทรัพยากร
        ณ สํานักงานการว�จัยแห‹งชาติ และในรูปแบบออนไลนผ‹านถ‹ายทอดสด (Live  มนุษยที่มีคุณคาสูงสุดของประเทศ การพัฒนาเด็กและเยาวชนในมิติ
        Streaming) ผ‹าน Facebook : สํานักงานการว�จัยแห‹งชาติ  ตาง ๆ ไมวาจะเปนในดานปญญา สังคม หรืออารมณ นับเปนการลงทุน
               วช. ใหความสําคัญกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย โดยเห็น ระยะยาวที่คุมคา จะสงผลใหเยาวชนเหลานี้สามารถเติบโตขึ้นเปนผูใหญ
        วาเปนหัวใจสําคัญในการสรางการเติบโตและความมั่นคงใหประเทศ ที่มีจิตสํานึกทางสังคมที่เขมแข็ง และมีความสามารถในการพัฒนาประเทศ
        ในอนาคต จึงไดสนับสนุนการวิจัยเพื่อแกไขปญหาสังคมที่เด็กและ อยางยั่งยืน
        เยาวชนกําลังเผชิญ เชน ปญหาความรุนแรงในครอบครัวและสังคม     นอกจากนี้ ยังมีการเสวนาประเด็นเรื่องที่สําคัญ ดังนี้ 1) เรื่อง
        รวมถึงการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทักษะชีวิตที่จําเปน เพื่อให “คิดกอนทํา เติมพลังฮึบ!! สรางคุณนะทําดี” โดย ดร.กนกพร ดอนเจดีย
        เด็กเติบโตเปนกําลังสําคัญของประเทศที่มีคุณภาพและสามารถปรับตัว จากมหาวิทยาลัยมหิดล ที่มุงเนนการสรางวินัยและจริยธรรมในเด็ก
        เขากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไดอยางเหมาะสม และเชื่อวาการ และเยาวชน 2) เรื่อง “เด็กแกรงดวยความเขมแข็งของครอบครัว” โดย
        สรางสภาพแวดลอมที่ดี ทั้งในครอบครัว ชุมชน และสังคม จะชวยใหเด็ก รองศาสตราจารย ดร.อาภาพร เผาวัฒนา จากมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่ง
        สามารถพัฒนาศักยภาพไดอยางเต็มที่ และเติบโตเปนคนดีของสังคม ชี้ใหเห็นบทบาทสําคัญของครอบครัวที่เปนรากฐานของการพัฒนาความ
        ที่มีความหลากหลาย ผลการวิจัยของ วช. สามารถนําไปประยุกตใชเพื่อ สามารถและความมั่นคงทางจิตใจของเด็ก และ 3) เรื่อง “Child Shield:
        สรางครอบครัวที่เขมแข็งและสังคมที่ดีขึ้น ซึ่งจะเปนเกราะคุมกันใหเด็ก เกราะคุมภัยของเยาวชน” โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิจิตรพงศ สุนทรพิพิธ
        และเยาวชนไดเติบโตอยางปลอดภัยและมีความสุข ซึ่งในวันนี้ตรงกับ จากมหาวิทยาลัยมหิดล และ สมาคมวิศวกรรมชีวการแพทยไทย ที่นําเสนอ
        วันเยาวชนแหงชาติ วช. จึงไดจัดการเสวนาเพื่อสงเสริมใหสังคมตระหนัก แนวคิดนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อปกปองเด็กจากภัยอันตรายที่มี
        ถึงความสําคัญของการสรางสภาพแวดลอมที่ปลอดภัยสําหรับเด็กและ แนวโนมเพิ่มขึ้นในปจจุบัน
        เยาวชน                                                       การเสวนาครั้งนี้ ถือเปนเวทีใหนักวิชาการ นักวิจัย และผูที่
               รองศาสตราจารย ดร.สุมนทิพย จิตสวาง จากจุฬาลงกรณ เกี่ยวของไดรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและนําเสนอผลงานวิจัย
        มหาวิทยาลัย ไดบรรยายพิเศษ ในหัวขอเรื่อง “สถานการณปญหาของเด็ก ที่นาสนใจ เพื่อหาแนวทางในการสรางสังคมที่ปลอดภัยสําหรับเด็กและ
        และเยาวชนไทยในปจจุบันในมิติตาง ๆ” ซึ่งไดกลาวถึงสถานการณ เยาวชนไทยอยางยั่งยืน โดยเฉพาะอยางยิ่งการเสริมสรางความเขมแข็ง
        เด็กไทยในปจจุบัน  ที่นาเปนหวงมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งปญหาหลัก ไดแก  ใหกับครอบครัวและการพัฒนานวัตกรรมเพื่อปกปองเด็กจากภัย
        เด็กออกจากโรงเรียนมากขึ้น ปญหาจากโลกออนไลน อบายมุข แมวัยใส  อันตรายตาง ๆ
        ความรุนแรง สุขภาพจิต และการกระทําผิด โดยเฉพาะปญหาอบายมุข
        ที่เริ่มตนในวัยเด็กมากขึ้น เชน การดื่มสุราในวัย 8 ขวบ การพนันออนไลน
        และบุหรี่ไฟฟา นอกจากนี้ ปญหาแมวัยใสก็เปนเรื่องเรงดวนที่ตองแกไข
        เพราะมีเด็กหญิงไทยวัยรุนคลอดบุตรมากขึ้นถึง 3 เทาใน 10 ปที่ผานมา
        ปญหาเหลานี้เกิดจากปจจัยหลายอยาง ทั้งสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา
        และสุขภาพ การแกไขปญหาตองอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวน
        ไมวาจะเปนภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ครอบครัว และชุมชน
        โดยตองบูรณาการนโยบายและมาตรการตาง ๆ เพื่อสงเสริมการศึกษา
        คุณภาพ สรางสภาพแวดลอมที่ปลอดภัย ดูแลสุขภาพกายใจ และ
        เปดโอกาสใหเด็กและเยาวชนมีสวนรวมในการแกไขปญหาของตนเอง
                                                                                      สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16