Page 3 - จดหมายข่าว วช. 59
P. 3

มุมมองผูบ้ รหิ าร

การสรา้ งธรุ กิจจากนวตั กรรมของคนไทย

ศาสตราจารย์ นายเพทย์สทุ ธิพร จิตตม์ ิตรภาพ         	 สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) มบี ทบาทในการบรหิ ารจดั การความรู้
     เลขาธกิ ารคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ           จากการวจิ ยั เพอื่ การใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาประเทศ และไดผ้ ลกั ดนั ใหเ้ กดิ การนำ� ผลงาน
                                                   วิจัย นวัตกรรม และส่ิงประดิษฐ์ไปสู่การต่อยอดและสู่ผู้ใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม
                                                   โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรม ระดบั วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในอนั ท่ี
                                                   จะต่อยอดงานวจิ ัยสเู่ ชงิ พาณิชย์ เปน็ การสรา้ งมลู ค่าเพ่ิมใหก้ บั สนิ คา้ และบริการ ตลอดจน
                                                   พัฒนาธุรกิจ SMEs และได้จัดเวทีเพ่ือเช่ือมโยง ส่งต่อผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และ
                                                   นวตั กรรมสภู่ าคธรุ กจิ โดยเฉพาะ SMEs และผปู้ ระกอบการใหม่ ทง้ั ในรปู แบบของเวทจี บั คู่
                                                   เพอื่ การผลติ สนิ คา้ เพอื่ ใหธ้ รุ กจิ SMEs ไดเ้ ลอื กงานวจิ ยั ทม่ี ศี กั ยภาพ ตรงกบั ความตอ้ งการ
                                                   ของตลาด และเวทกี ารวจิ ยั เพอ่ื ตอบสนองภาคอตุ สาหกรรม โดยเปดิ รบั โจทยก์ ารวจิ ยั จาก
                                                   ผู้ประกอบการ SMEs เพ่ือใหไ้ ดง้ านวิจยั ทตี่ อบสนองต่อความตอ้ งการของ SMEs

	 วช.จงึ รว่ มกบั สำ� นกั งานนวตั กรรม             และสินค้าท่ีส่งออกมีต้นทุน วัตถุดิบ และ        นวตั กรรมเหลา่ นนั้ มคี วามพรอ้ ม มศี กั ยภาพ
แหง่ ชาติ(สนช.)จดั โครงการสรา้ งธรุ กจิ จาก        ค่าแรงสูง สิ่งที่ได้เรียนรู้จากต่างประเทศ      ในเชิงเทคโนโลยีแล้ว วช. ก็พร้อมที่จะ
นวัตกรรมของคนไทย โดยมกี ระบวนการ                   และประเทศท่ีผ่านพ้นวิกฤตด้านปัญหา              ให้การสนับสนุนส่วนหน่ึงในการต่อยอด
และงบประมาณสนบั สนนุ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ธรุ กจิ        เศรษฐกจิ คือ การผลติ สนิ ค้าทีเ่ กดิ ข้นึ จาก  รวมทั้งเงินลงทุนกับภาคเอกชนที่จะเขา้ มา
ใหมท่ ห่ี ลากหลายรายการ และตงั้ เปา้ หมาย          นวตั กรรม โดยเฉพาะนวตั กรรมทพี่ ฒั นาขน้ึ      ลงทนุ ประกอบกจิ การ สรา้ งโรงงาน หากให้
เพ่ือให้เห็นผลเป็นรูปธรรม ส�ำหรับ                  ในประเทศ ดงั นนั้ การผลติ สนิ ค้าทเ่ี กดิ จาก  เอกชนลงทุนฝ่ายเดียว เอกชนจะมองว่า
ในปีน้ี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุทธิพร                นวตั กรรมของคนไทยทผ่ี ลติ ในประเทศไทย          เป็นความเสี่ยง เพราะนวัตกรรมการผลิต
จิตต์มิตรภาพ เลขาธิการคณะกรรมการ                   ต้องเป็นการท�ำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ          สินค้าต้องมกี ระบวนการอกี 2 - 3 ขน้ั ตอน
วจิ ยั แห่งชาติ ได้ใหค้ วามเหน็ ว่า จุดเรมิ่ ตน้   และภาคเอกชน ซึ่ง วช. มผี ลงานวิจยั และ         จึงจะได้สินค้าต้นแบบ ทั้งนี้ ในการผลิต
ของโครงการสร้างธุรกิจจากนวัตกรรม                   พัฒนาด้านการประดิษฐ์คิดค้นที่เป็น              สนิ คา้ อาจไดเ้ พยี ง 10 หรอื 100 ชนิ้ เทา่ นนั้
ของคนไทยเกิดขึ้นจากแนวคิดที่ต้องการ                นวัตกรรมจ�ำนวนมาก หากงานวิจัยและ               เพราะในกระบวนการต้องมีการท�ำซ้�ำ
พฒั นาประเทศไทยใหห้ ลดุ พน้ จากการเปน็
ประเทศทม่ี รี ายไดป้ านกลางเปน็ ประเทศที่                                                                                     (อา่ นต่อหนา้  4)
มรี ายได้สงู โดยเศรษฐกิจของประเทศไทย
ข้นึ อยกู่ บั ปัจจยั 3 ประการ คอื 1) ปัจจยั
การส่งออก 2) ปัจจัยการใช้จ่ายภายใน
ประเทศและปัจจัยที่ 3) คือ ปัจจัยด้าน
การลงทุนหรือการกระตุ้นเศรษฐกิจของ
ประเทศเก่ียวกับการลงทุนด้านโครงสร้าง
พืน้ ฐาน อยา่ งไรก็ตาม พบว่าประเทศไทย
ผลติ สนิ คา้ สง่ ออกเพอ่ื การแขง่ ขนั ไดน้ อ้ ยลง
เป็นเพราะใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ

*	 สรุปจากบทสัมภาษณ์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์สทุ ธพิ ร  จติ ต์มติ รภาพ เลขาธกิ ารคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ ทางสถานวี ทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
	 รายการข่าวภาคเชา้  วนั ที่ 8 พฤษภาคม 2558 เวลา 07.30 น.

                                                                                                  3สำ�นกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.)

                                                                                                  National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8