Page 3 -
P. 3

การเปลี่ยนแปลงโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศ



                           ไปสูเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม


                                ตามเปาหมาย “ประเทศไทย 4.0”
                                                                                        *




                 การวิจัยและการประดิษฐคิดคน เปนปจจัยที่จะ
         สงผลตออนาคตการพัฒนาประเทศในทุกมิติ และเพื่อนําพา
         ประเทศใหหลุดพนจากกับดักประเทศรายไดปานกลาง การลด
         ปญหาความเหลื่อมลํ้า และความไมสมดุลของการพัฒนา รัฐบาล

         จึงไดกําหนดยุทธศาตรชาติระยะ 20 ป ที่ใหความสําคัญ
         เปนอยางยิ่งกับการเปลี่ยนแปลงโครงสรางเศรษฐกิจของ
         ประเทศไปสูเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม ตามเปาหมาย
         “ประเทศไทย 4.0” โดยไดมีการดําเนินการสําคัญ ๆ ในดานตาง ๆ
         อาทิ 1. ดานนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยและนวัตกรรม
         ของชาติ ที่เปนเสมือนกาวแรกของการนําพาความเปลี่ยนแปลง
         ในการพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศใหมีระบบ
         ที่มีความเปนเอกภาพมากขึ้น เพื่อใหการขับเคลื่อนระบบวิจัย
         ของประเทศเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ  โดยคํานึงถึง

         ความตองการของพื้นที่ ชุมชน ผูประกอบการ ทั้งผูประกอบการ
         ระดับอุตสาหกรรมและผูประกอบการขนาดกลางและ
         ขนาดยอม  ตลอดจนอยูบนพื้นฐานของการบูรณาการ เพื่อใหเกิดการบูรณาการและการพัฒนาเทคโนโลยีแบบ
         ความรวมมือของหนวยงานและองคกรในระดับพื้นที่ และภาค กาวกระโดด มุงเปาหมายที่ชัดเจน รัฐบาลไดมุงเนนใหมีการ
         ประชาสังคม 2. ดานบุคลากรการวิจัยและนวัตกรรม ปจจัยที่ จัดสรรงบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร (Agenda – based)
         สําคัญที่สุดในการขับเคลื่อนประเทศไทยตาม Thailand 4.0  และตามรายพื้นที่ (Area – based)
         ก็คือ “คนไทย” เนื่องจากการพัฒนาทุนมนุษยที่ดีมีความรู      ขณะเดียวกันก็ใหความสําคัญกับสภาพแวดลอมที่

         ความสามารถ มีคุณธรรม จะเปนรากฐานในการเสริมสราง เอื้ออํานวยตอการพัฒนาเทคโนโลยี การวิจัย การประดิษฐคิดคน
         คุณภาพและความเขมแข็งใหกับสังคมไทย และเมื่อคนไทย และนวัตกรรมของประเทศ  อีกประเด็นหนึ่ง  ที่รัฐบาล
         มีคุณภาพ ก็จะสามารถลดความเหลื่อมลํ้าทางสังคมได โดย ใหความสําคัญเปนอยางยิ่งและไมสามารถที่จะละเลยได คือ
         นักวิจัยและนักประดิษฐไทย ถือเปนกลุมคนไทยที่มีความ การเผยแพรและผลักดันผลงานวิจัยสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม
         พรอม และมีศักยภาพในระดับสูง ที่สามารถสรางความเจริญ ใหเกิดการนําไปใชประโยชน ทั้งในภาคชุมชน สังคม และ
         เติบโตใหกับประเทศได หากแตตองไดรับการสงเสริมเรื่อง ภาคอุตสาหกรรมอยางกวางขวาง จนเกิดเปนวัฒนธรรม
         การผลักดันใชประโยชนจากงานวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี และ การใชความรู ใชความคิดสรางสรรค เปนหลักยึดในการประกอบ
         นวัตกรรม และสรางความพรอมในการแสวงหาโอกาสที่ดีจาก อาชีพ การพัฒนาผลผลิต ผลิตภัณฑ และการใชชีวิตประจําวัน

         ภายนอกประเทศ รัฐบาลจึงไดใหความสําคัญกับการพัฒนา เปนสังคมที่อยูบนพื้นฐานขององคความรูที่ทัดเทียมกับ
         บุคลากรดานการวิจัยและนวัตกรรมที่เพียงพอ และมีคุณภาพ พัฒนาการของประเทศที่เจริญแลว  และนําพาประเทศ
         เพิ่มขึ้นในทุกระดับ เพื่อสอดคลองกับความตองการของสังคม เขาสูระบบเศรษฐกิจสรางสรรค และนวัตกรรมใหมที่กอใหเกิด
         และอุตสาหกรรม ทั้งในปจจุบันและในอนาคต 3. ดานการ มูลคา เพิ่มความสามารถในการแขงขัน และการพึ่งพาตนเอง
         ปรับระบบการจัดสรรงบประมาณดานการวิจัยและนวัตกรรม ไดอยางยั่งยืน


         * สรุปจากคํากลาวของ พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ในพิธีเปดงาน “วันนักประดิษฐ” ประจําป 2561 และพิธีมอบรางวัล
           สภาวิจัยแหงชาติ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ 2561 ณ Event Hall 98 – 99 ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร

         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         3
   1   2   3   4   5   6   7   8