Page 15 -
P. 15

แนะนําหนังสือนาอานในโครงการจัดแปลหนังสือวิชาการของ วช.





                “สิทธิบัตรมากมายและประสบการณการฟองรองตาง ๆ ของผมนั้นไดมาจากบทเรียนอันหนักหนาสาหัสทั้งสิ้น

              แตหนังสือเลมนี้ไดเสนอสิ่งที่ทําไดอยางงายดายและมีประสิทธิภาพมากขึ้นในราคาที่ไมแพง...ในชองทางที่ถูกตอง”
                                                                         ฟล แบชเลอร (ผูประดิษฐรถเด็กเบบี้จอกเกอร)



                                                              ทรัพยสินทางปญญา เปนตน จดหมายขาว วช. ฉบับนี้จึงขอ
                                                              นําเสนอหนังสือแปลตามโครงการจัดแปลหนังสือตามนโยบาย
                                                              ของรัฐบาล ลําดับที่ 3 ในสาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรม
                                                              วิจัย ของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) เรื่อง
                                                              “ความลับจากสมุดโนตของนักประดิษฐ” (Secrets from
                                                              an Inventor’s Notebook) แตงโดย มอริส คันบาร (Maurice
                                                              Kanbar) แปลโดย  ดร.ภัททิยา ยิมเรวัต พิมพครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552
                                                              จํานวน 2,000 เลม
                                                                     หนังสือเลมนี้มีจุดมุงหมายเพื่อเสนอสิ่งที่จําเปนของ

                                                              กระบวนการที่จะกาวไปสูเสนทางการเปนนักประดิษฐที่
                                                              ประสบผลสําเร็จ ภายใตหลักพื้นฐาน 5 ประการ อันไดแก การ
                                                              ตอบโจทย/แกปญหา การพิสูจนสิ่งประดิษฐ/สรางสิ่งประดิษฐ
                                                              ตนแบบ การปกปองความคิดของนักประดิษฐ การผลิตสินคา
                                                              เองหรือขายลิขสิทธิ์ใหคนอื่นทําและการทําการตลาด โดย
                                                              เปลี่ยนกระบวนทัศน
                                                                     ขั้นตอนและเทคนิคตาง ๆ จะเรียงลําดับกันไปในแตละ

                                                              บท โดยจะเริ่มตนตั้งแต การเริ่มลงมือทําจริงซึ่งทําใหสามารถ
                                                              เห็นไดชัดเจนถึงกระบวนการผลิตสิ่งประดิษฐในโลกของความ
                 นักประดิษฐ (Inventor) นอกจากจะเปนบุคคล เปนจริงวามาไดอยางไร เมื่อไหร ทําไม พรอมกันนี้ยังไดรวบรวม
          ผูสรางสรรคหรือคนพบวิธีการ รูปแบบ เครื่องมือ หรือสิ่งอื่นใด แหลงขอมูลที่เปนประโยชนตอนักประดิษฐใหมอีกดวย ซึ่ง
          ที่เปนประโยชน ซึ่งไมเคยมีมากอนแลว อาจเรียกไดวาเปนผูที่ ขั้นตอนและเทคนิคขางตนไดรวบรวมจากประสบการณที่ทําให
          สามารถนําสิ่งประดิษฐไปตอยอดเปนนวัตกรรมไดอีกดวย แต ผูเขียนประสบความสําเร็จในการประดิษฐและธุรกิจสิ่งประดิษฐ
          เหนือสิ่งอื่นใด สิ่งที่นักประดิษฐตองเผชิญคือ หากนักประดิษฐ ในระยะเวลาที่ผานมา
          ไมไดดําเนินการในเรื่องตาง ๆ อยางเปนขั้นตอนแลว จะสงผล  หวังเปนอยางยิ่งวาสาระของหนังสือเลมนี้จะเปนการ
          ใหเสียผลประโยชนและเกิดความเสียหายตอนักประดิษฐได  จุดประกายใหเกิดนักประดิษฐรุนใหมและสิ่งประดิษฐใหม ๆ

          อาทิ การเสียผลประโยชนทางธุรกิจ การฟองรองในเรื่อง เพิ่มขึ้น อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศตอไป



                                                               ✉ หากตองการสอบถามขอมูลของโครงการ
                                                               จัดแปลหนังสือวิชาการของ  วช.  ติดตอไดที่
                                                               ฝายวิเทศสัมพันธการวิจัย กองการตางประเทศ
                                                               สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) เลขที่
                                                               196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
                                                               กรุงเทพฯ 10900 หรือโทร 0 2561 2445 ตอ 212
                                                               โทรสาร 0 2561 3049 ทุกวันในเวลาราชการ และ
                                                               อีเมล irr.contact@gmail.com


         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16