Page 6 - วช
P. 6
การควบคุมลูกนํ้ายุงรําคาญโดยใชชีวภัณฑเชื้อจุลินทรีย
Bacillus thuringiensis subsp. israelensis (Bti)
ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติ
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
ยุงรําคาญ คูเลกซ ควินคิวแฟสเซียตัส (Culex
quinquefasciatus) มักพบระบาดหลังเกิดภาวะนํ้าทวม
ขังตามแหลงตาง ๆ ในวงกวาง ยุงรําคาญมีหลายสกุล แตที่
พบมากในขณะนี้คือ คูเลกซ ควินคิวแฟสเซียตัส ที่พบในแหลง
นํ้าขังที่เปนนํ้าเนาเสีย ยุงรําคาญอีก 2 สกุล ที่พบไดมากใน
ประเทศไทย ไดแก คูเลกซ เจลิดัส (Culex gelidus) และ คูเลกซ
ไตรเตนิโอรินคัส (Culex tritaeniorhynchus) ซึ่งเปนยุง
รําคาญที่พบลูกนํ้าอยูในหนองนํ้า นํ้าขังตามไรนา นํ้าตาม
รอยเทาสัตว ยุงรําคาญเหลานี้ตองเฝาระวังตามพื้นที่ชายแดน
เปนพิเศษเนื่องจากเปนพาหะนําโรคเทาชางและไขสมอง
อักเสบในกลุมประเทศเพื่อนบาน การควบคุมยุงรําคาญใน
แหลงนํ้าโดยใชแบคทีเรียกําจัดลูกนํ้า Bacillus thuringiensis
subsp. israelensis (Bti), Bacillus sphaericus (Bsph) และ และตอเทมีฟอส คือ 1.94, 0.47, 1.48, 1.23, 1.71, 1.48,
สารเทมีฟอส ถูกนํามาใชเปนเวลานาน อาจทําใหเกิดปญหาการ 2.07, 2.65, 3.01 และ 2.46 ตามลําดับ ซึ่งไดแสดงผลเปน 3
ตานทานตอสารที่นํามาใชได แผนที่ GIS ที่สรุปไดวา ทุกพื้นที่สามารถใช Bti ในการควบคุม
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ได ยุงได สวน Bsph และเทมีฟอส นํามาใชไดแตมีโอกาสที่ตองใช
สนับสนุนทุนวิจัยใหแกกรมวิทยาศาสตรการแพทย ทําการศึกษา ปริมาณมากขึ้นเนื่องจากบางพื้นที่มีความตานทานระดับ
หาความตานทานของยุงรําคาญ คูเลกซ ควินคิวแฟสเซียตัส ปานกลางและตองใชวิธีควบคุมอื่นควบคูไปดวย ผลการเหนี่ยวนํา
สายพันธุธรรมชาติในพื้นที่ชายแดนไทย - เมียนมาร จํานวน พบวา ความตานทานของยุงรุนที่ 9 ตอ Bti, Bsph และเทมีฟอส
10 จังหวัด ตอแบคทีเรียกําจัดลูกนํ้าทั้งสองชนิดและสารเทมีฟอส เพิ่มขึ้น 1.18, 12.19 และ 4.50 เทา ตามลําดับ ซึ่งสรุปไดวา
เพื่อใชเปนขอมูลในการควบคุมยุง รวมกับการใชขอมูลภาพ ยุงมีการพัฒนาการตานทานตอ Bti ชาที่สุด ตอ Bsph เร็วที่สุด
ดาวเทียมและภูมิสารสนเทศชวยแสดงผลเปนระดับความ และมีแนวโนมสรางความตานทานสูงตอเทมีฟอส ซึ่งสอดคลอง
ตานทาน รวมทั้งไดศึกษาการเหนี่ยวนําใหเกิดความตานทาน กับผลการศึกษาในภาคสนาม จึงควรมีการเฝาระวังเปนพิเศษ
แบบ Selection experiment ในยุงรําคาญ คูเลกซ ควินคิว- และมีการควบคุมรูปแบบอื่น ๆ รวมดวย
แฟสเซียตัส สายพันธุในหองปฏิบัติการเพื่อเปรียบเทียบ นอกจากนี้ วช. ยังสนับสนุนใหกรมวิทยาศาสตร
โดยไดผลิตแบคทีเรีย Bti 02 และ Bsph 07 สายพันธุ การแพทยศึกษาการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย Bti และ Bsph ใน
กรมวิทยาศาสตรการแพทยชนิดผงแหง ได 60.46 กรัมและ อาหารที่ทําจากสิ่งเหลือทิ้งหรือวัตถุดิบที่มีราคาถูก และนําสาร
52.86 กรัม เพื่อใชทดสอบ เมื่อนําลูกนํ้ายุงรําคาญที่เก็บจาก ชีวภาพไปทดสอบการใชงานเปรียบเทียบระหวางการใช Bti
จังหวัดชายแดนไทย - เมียนมาร มาเพาะเลี้ยงแลวทดสอบ ไดคา หรือ Bsph เพียงชนิดเดียว และการใช Bti รวมกับ Bsph ใน
ระดับความตานทาน (Resistance Ratio) ของยุงในจังหวัด การกําจัดลูกนํ้ายุงรําคาญ อาหารที่ใชเพาะเลี้ยงมี 4 ชนิด คือ
แมฮองสอน เชียงราย เชียงใหม ตาก กาญจนบุรี เพชรบุรี นํ้ามะพราวแก นํ้ากากถั่วเหลือง นํ้าซาวขาว และนํ้าซุปรสหมู
ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ ชุมพร และระนอง ตอ Bti 02 คือ ที่ทําจากซุปกอนสําเร็จรูป ทดสอบประสิทธิภาพเชื้อที่เพาะเลี้ยง
0.64, 1.08, 0.94 0.90, 1.21, 0.41, 0.80, 0.36, 0.45 กับลูกนํ้ายุงรําคาญวัย 4 ตอนตน คัดเลือกอาหารสูตรที่ดีที่สุด
และ 0.56 ตามลําดับ, ตอ Bsph 07 คือ 1.01, 1.77, 0.87, จากนั้นเพาะเลี้ยงเชื้อในระดับขยายสวนและประเมินฤทธิ์
1.65, 0.91, 2.66, 1.38, 1.57, 1.04 และ 1.05 ตามลําดับ ตกคางในสภาพจําลองธรรมชาติและภาคสนามโดยเปรียบเทียบ
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
6 National Research Council of Thailand (NRCT)