Page 13 - NRCT126
P. 13
การประดิษฐนวัตกรรมเครื่องมือแพทยจากวัตถุดิบ
เกษตรไทยนี้ จึงนับเปนเทคโนโลยีของคนไทย ที่เกิดขึ้นเปน
ครั้งแรกในโลกและในประเทศไทย ที่ใชวัตถุดิบและเทคโนโลยี
ของไทย ที่มีราคาถูกกวาของตางประเทศมาก ในรูปแบบ
เศรษฐกิจเชิงสารอินทรีย ขยะเปนสูญ และปลอดมลภาวะ
หากมีการยอมรับจากผูใชงานมากยิ่งขึ้นก็จะสามารถลด
งบประมาณการนําเขาจากตางประเทศได และเพิ่มการ
สงออกไดปละหลายรอยลานบาท สวนอนาคตจะมีการคนควา
เพื่อแปรรูปวัตถุดิบเกษตรไทยทุกชนิด ไมวาจะเปน ขาวเจา
มันสําปะหลัง นํ้าตาลทราย นํ้ามันปาลม เปลือกหอย เห็ดรา
ผลไม หรือสมุนไพร ใหมีมูลคาเพิ่ม เปลี่ยนแปลงเปนสินคา
ที่มีคุณภาพสูงขายไดราคา อยางเชน เครื่องมือแพทย เปนตน
สวนการขยายผลสูตลาดเชิงพาณิชยนั้น ขณะนี้กําลังหาความ
รวมมือกับพันธมิตรภาคเอกชน ที่มีกําลังการผลิตระดับ
อุตสาหกรรม และมีเครือขายตลาดเชิงพาณิชยที่ครอบคลุม
สวนกระดุมยึดตรึงกะโหลก สินคานําเขาจากตางประเทศ ทั้งในประเทศ ในระดับ ASEAN ASIA และทั่วโลก ระดมทุน
ผลิตจากโลหะไทเทเนียม ราคา 3,000 บาทตอคู (2 ชิ้น) ยกระดับขีดความสามารถดานการผลิต จนมีการไดรับรอง
ทั้งประเทศใชงานประมาณ 20,000 คูตอป คิดเปนมูลคา มาตรฐานเครื่องมือแพทยระดับสากล ใหเปนที่ยอมรับจาก
60 ลานบาท สวนกระดุมกระดูกวัว ของไทยราคาคูละ 150 บาท นานาชาติ เชน GMP GDPMD ISO CE FDA เปนตน
ถูกกวา 20 เทา และความพิเศษจากกระดุมกระดูกวัว ที่ทํามาจาก โดยการแปรรูปทรัพยากรธรรมชาติ จากขาวเจา และ
กระดูกเทียม เมื่อใชงานเชื่อมตรึงกะโหลกศีรษะผูปวยจนสําเร็จ กระดูกสัตว ใหกลายเปนชีววัสดุ สําหรับใชงานทางการแพทยนี้
รางกายก็จะสรางกระดูกใหมที่มีชีวิตมาเชื่อมติดจนเปน ถือเปนนวัตกรรมการประดิษฐคิดคนเครื่องมือแพทยฝมือ
เนื้อเดียวกัน ในขณะที่สินคาจากตางประเทศทํามาจากโลหะ คนไทยที่ไดมาตรฐานระดับนานาชาติ และยังเปนการเพิ่ม
ก็จะเปนวัสดุแปลกปลอมที่อยูกับที่ตลอดกาล และมีโอกาส มูลคาผลผลิตทางการเกษตร โดยการเปลี่ยนแปลงใหเปนสินคา
เกิดโรคแทรกซอนได เชน อนุภาคโลหะสึกกรอน ออกมาทําให ที่มีคุณภาพชั้นสูงขายไดราคาแพง ลดปญหาราคาผลผลิตตกตํ่า
เนื้อเยื่อรอบขางของผูปวยอักเสบจนเจ็บปวดรุนแรง หรือหลุด ลดงบประมาณการนําเขาเครื่องมือแพทยจากตางประเทศได
ออกไปตกคางในอวัยวะภูมิคุมกันของรางกาย เชน มาม หรือตับ อยางดีอีกดวย
อีกทั้งยังไปกระตุนปฏิกิริยากอมะเร็งได
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 13