Page 38 - แผนปฏิบัติการด้านการใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรม (พ.ศ. 2563-2565)
P. 38
กลยุทธ์ที่ 1
ส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรมในการตอบโจทย์ท้าทายของประเทศรวมทั้งในเชิงพื้นที่
และชุมชน การยกระดับเศรษฐกิจฐานราก และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัดหลักของความสำเร็จ (Key Results: KRs) ค่าเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ
5. จำนวนองค์กร/สถาบัน/หน่วยงานที่มีองค์ความรู้ จำนวน 20 หน่วยงาน ภายในปี - กบท.1
งานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมและต้นแบบ และร่วม 2565 - กบท.3
ลงทุนการวิจัยเพื่อการใช้ประโยชน์กับต่างประเทศ - กบท.2
ทั้งภาครัฐ และ/หรือ เอกชน - กสส.
6. จำนวนชุมชน/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ได้รับ จำนวน 500 ชุมชน/อปท. ภายใน - กสส.
การถ่ายทอดความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ที่เพิ่มขึ้น ปี 2565 - กบท.2
ปี 2563 จำนวน 140 ชุมชน/ - กบท.1
อปท. - กบท.3
ปี 2564 จำนวน 160 ชุมชน/
อปท.
ปี 2565 จำนวน 200 ชุมชน/
อปท.
7. จำนวนประชาชนผู้ได้รับประโยชน์จากการแก้ไข จำนวน 1 ล้านคน ภายในปี 2565 - กสส.
ปัญหาที่เป็นโจทย์ท้าทาย การยกระดับเศรษฐกิจฐานราก ปี 2563 จำนวน 0.28 ล้านคน - กบท.2
หรือการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยการใช้ประโยชน์จากองค์ ปี 2564 จำนวน 0.35 ล้านคน - กบท.1
ความรู้ ผลงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมและต้นแบบ ที่ ปี 2565 จำนวน 0.37 ล้านคน - กบท.3
ได้รับการถ่ายทอด ขยายผลและต่อยอด
กลยุทธ์ที่ 2 ขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรมในการ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และหลุด
พ้นจากกับดักของประเทศที่มีรายได้ปานกลาง
แนวทางการพัฒนาที่ 1 จัดการองค์ความรู้ ผลงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมให้มี
ความพร้อมใช้ รวมถึงการใช้ TRL เป็นเครื่องมือ
แนวทางการพัฒนาที่ 2 บูรณาการและประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย
และระหว่างหน่วยงานภาคีด้วยกัน บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม
และสถาบันอุดมศึกษา ที่มีภารกิจรับผิดชอบหรือบทบาทการพัฒนาเศรษฐกิจด้านต่างๆ โดยใช้รูปแบบการ
- 28 -