Page 40 - แผนปฏิบัติการด้านการใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรม (พ.ศ. 2563-2565)
P. 40
กลยุทธ์ที่ 2
ขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรมในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขัน และหลุดพ้นจากกับดักของประเทศที่มีรายได้ปานกลาง
ตัวชี้วัดหลักของความสำเร็จ (Key Results: KRs) ค่าเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ
5. จำนวนเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการธุรกิจ จำนวน 120 เครือข่าย ภายในปี - กบท.1
รายย่อยขนาดกลางและขนาดย่อม และขนาดใหญ่ และ/ 2565 - กบท.3
หรือ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่นำองค์ความรู้ ปี 2563 จำนวน 30 เครือข่าย - กบท.2
ผลงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมและต้นแบบ ไปพัฒนา ปี 2564 จำนวน 40 เครือข่าย - กสส.
ต่อยอดจนเกิดผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ยกระดับเศรษฐกิจ ปี 2565 จำนวน 50 เครือข่าย
ฐานรากที่เพิ่มขึ้น
6. จำนวนชุมชนและผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มจากการ จำนวน 500 ชุมชน/ - กสส.
แก้ไขปัญหาที่เป็นโจทย์ท้าทาย การยกระดับเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการที่มีรายได้เพิ่มขึ้น - กบท.2
ฐานราก หรือการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยการใช้ประโยชน์ ร้อยละ 20 ภายในปี 2565 - กบท.1
จากองค์ความรู้ ผลงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมและ ปี 2563 จำนวน 140 ชุมชน/ - กบท.3
ผู้ประกอบการ
ต้นแบบที่ได้รับการถ่ายทอด ขยายผลและต่อยอด
ปี 2564 จำนวน 160 ชุมชน/
ผู้ประกอบการ
ปี 2565 จำนวน 200 ชุมชน/
ผู้ประกอบการ
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบนิเวศที่เอื้อต่อการใช้ประโยชน์งานวิจัยและ
นวัตกรรมให้เกิดผลอย่างเป็ นรูปธรรม
แนวทางการพัฒนาที่ 1 ยกระดับการบริหารงบประมาณการวิจัยและนวัตกรรมที่มุ่งการ
ใช้ประโยชน์ให้เกิดผลสัมฤทธิ์และมีประสิทธิภาพ โดยการพัฒนาปรับปรุงกลไกและระบบการสนับสนุนทุน
รูปแบบต่าง ๆ
แนวทางการพัฒนาที่ 2 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เครื่องมือ และเทคนิคที่
ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ในทุกระดับ เพื่อสนับสนุนการบริหารและขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรม
สู่การใช้ประโยชน์
แนวทางการพัฒนาที่ 3 เสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการใช้ประโยชน์จากการวิจัยและ
นวัตกรรม สำหรับบุคลากรในระบบวิจัยและนวัตกรรม รวมทั้งผู้จัดการความรู้การวิจัย
- 30 -