Page 70 - แผนปฏิบัติการด้านการใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรม (พ.ศ. 2563-2565)
P. 70

คำศัพท์                                     ความหมาย

                 ทรัพย์สินทาง ผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์ คิดค้น หรือสร้างสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของ

                   ปัญญา       สติปัญญาและความชำนาญ โดยไม่คำนึงถึงชนิดของการสร้างสรรค์หรือวิธีใน
                               การแสดงออก ทรัพย์สินทางปัญญาอาจแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับต้องได้ เช่น สินค้า

                               ต่าง ๆ หรือในรูปของสิ่งที่จับต้องไม่ได้ เช่น บริวาร แนวคิดในการดำเนินธุรกิจ กรรมวิธี

                               การผลิตทางอุตสาหกรรม เป็นต้น

                               อ้างอิง: ความรู้เบื้องต้นด้านทรัพย์สินทางปัญญา กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวง

                               พาณิชย์ (https://www.ipthailand.go.th/images/633/book/basic_IP.pdf)

                  เทคโนโลยี  วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ

                               อ้างอิง : พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554


                  นวัตกรรม  ผลิตภัณฑ์ สิ่งประดิษฐ์ บริการ กรรมวิธีที่เกี่ยวกับการผลิต การจัดโครงสร้างองค์กร ระบบ

                               บริหารจัดการ การบริหารการเงิน ธุรกิจ การตลาดหรือในการอื่นใด ทั้งนี้ ซึ่งเป็นสิ่งใหม่
                               หรือพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิมอย่างมีนัยสำคัญและนำไปใช้ประโยชน์ได้ในวงกว้าง ทั้งในเชิง

                               พาณิชย์และสาธารณะ

                               อ้างอิง : พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์

                               วิจัยและนวัตกรรม 2562

                 ประชาชนที่ การถ่ายทอดงานวิจัย เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมให้กับผู้ได้รับผลประโยชน์ ประกอบด้วย

                    ได้รับ     นักวิชาการและบุคคลทั่วไป เกษตรกร ผู้ประกอบการ บุคลากรภาครัฐ
                 ผลประโยชน์    อ้างอิง: หนังสือที่มาและแนวคิดของการปฏิรูประบบวิจัย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ



                 ประเทศไทย  การปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจที่เน้นการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยพัฒนา
                     4.0       โดยที่ภาคการเกษตรยังคงเป็นแกนหลัก แต่จะเปลี่ยนการเกษตรแบบดั้งเดิมไปสูการเกษตร

                               สมัยใหม่ โดยสร้างเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) และสนับสนุนให้เกษตรกรเป็น
                               ผู้ประกอบการมากขึ้น


                               อ้างอิง : เอกสารทางวิชาการ Acadamic Focus ประเทศไทย 4.0 (กรกฎาคม 2559)

                   ปรัชญา      แนวปรัชญาของเศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตัวเองได้ ให้มีความพอเพียงกับตนเอง อยู่ได้โดย

                  เศรษฐกิจ     ไม่ต้องเดือดร้อน โดยต้องสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดีเสียก่อน คือ

                   พอเพียง     ตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ ไม่ใช่มุ่งหวังแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญยกเศรษฐกิจให้
                               รวดเร็วแต่เพียงอย่างเดียว เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเองย่อมสามารถ

                               สร้างความเจริญก้าวหน้า และฐานะทางเศรษฐกิจขึ้นที่สูงขึ้นไปตามลำดับต่อไปได้


                                                                - 54 -
   65   66   67   68   69   70   71   72   73