Page 10 - 103
P. 10

พิเศษ

























          ปฏิรูประบบวิจัยและนวัตกรรม เพื่อพัฒนาดานวิทยาศาสตร       ในป พ.ศ. 2562 นี้ จากการจัดตั้งสภานโยบายวิจัย
          เทคโนโลยี และศิลปวิทยาแขนงตาง ๆ ใหเกิดความรูและการ และนวัตกรรมแหงชาติ เพื่อเปนกลไกการบูรณาการการวิจัย
          พัฒนาเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งใหแกเศรษฐกิจ สังคม และ และนวัตกรรมของประเทศใหตรงกับความตองการและเปนไป
          เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศและคุณภาพ ในทิศทางเดียวกัน จึงไดมีการจัดตั้ง “กระทรวงการอุดมศึกษา
          ชีวิตของประชาชน เพื่อสนับสนุนใหการดําเนินการดังกลาวเปน วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม” ขึ้น โดยในเดือนพฤษภาคม
          ไปอยางมีประสิทธิภาพ คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.)  พ.ศ. 2562 สภานิติบัญญัติแหงชาติ ไดเห็นชอบพระราชบัญญัติ

          จึงจําเปนตองบูรณาการการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ  เกี่ยวของกับการจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
          ใหตรงตามความตองการและเปนไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อ วิจัยและนวัตกรรม จํานวน 10 ฉบับ
          ลดความซํ้าซอน และสามารถผลักดันใหมีการนําไปใชให         ผลจากการจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
          เกิดประโยชนอยางเปนรูปธรรม โดยอาศัยอํานาจตามความ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สงผลให “สํานักงานคณะกรรมการ
          ในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับ วิจัยแหงชาติ” ปรับเปลี่ยนเปน “สํานักงานการวิจัยแหงชาติ”
          ชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 จึงไดมีคําสั่งที่ 62/2559 ลงวันที่  ซึ่งเปนหนวยราชการระดับกรมภายในกระทรวง อว. ตาม
          6 ตุลาคม 2559 เรื่อง การปฏิรูประบบวิจัยและนวัตกรรม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา
          ของประเทศ โดยกําหนดใหมีสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรม วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม พ. ศ. 2562 โดยเปนหนวยงาน

          แหงชาติ ขึ้น เพื่อทําหนาที่ในการกําหนดทิศทางนโยบาย  หลักดานการใหทุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
          ยุทธศาสตร รวมทั้งปรับปรุงระบบวิจัยและนวัตกรรมของ (Funding  Agency)  ตามพระราชบัญญัติการสงเสริม
          ประเทศ ตลอดจนกํากับและติดตามการบริหารจัดการ การ วิทยาศาสตร การวิจัยและนวัตกรรม โดยมีหนาที่ใน 7 ภารกิจ
          จัดสรรงบประมาณ และประเมินผลการดําเนินการใหเปน ที่สําคัญในระดับประเทศ ไดแก 1) เปนหนวยงานใหทุนวิจัย
          ไปอยางเหมาะสมและมีเอกภาพ โดยใหเลขาธิการคณะ และนวัตกรรมหลักของประเทศ 2) จัดทําฐานขอมูลและดัชนี
          กรรมการวิจัยแหงชาติ และเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการ วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 3) ริเริ่ม ขับเคลื่อน
          นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ เปน และประสานการดําเนินงานโครงการวิจัยและนวัตกรรมที่

          เลขานุการรวม ซึ่งในคําสั่ง คสช. ดังกลาว ใหมีการยุบเลิก สําคัญของประเทศ 4) จัดทํามาตรฐานและจริยธรรมการวิจัย
          สภาวิจัยแหงชาติ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการ 5) สงเสริมและถายทอดความรูเพื่อใชประโยชน 6) สงเสริม
          สาขาวิชาการ และคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร  และสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรดานวิจัยและนวัตกรรม
          เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ และคณะกรรมการพัฒนา และ 7) การใหรางวัล ประกาศเกียรติคุณหรือยกยองบุคคล
          ระบบนวัตกรรมของประเทศ โดยไมมีการยุบหนวยงานใด ๆ แต หรือหนวยงานดานวิจัยและนวัตกรรม ซึ่งสํานักงานการวิจัย
          เปนการปรับโครงสรางการบริหารเพื่อสรางเอกภาพของหนวย แหงชาติ (วช). ไดมีการหารือรวมกับหนวยงานในกระทรวง
          งานในระบบวิจัย และเพิ่มประสิทธิภาพทางการบริหารงานเปน การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และ
          หลัก สวนสิ่งที่ยุบและเปลี่ยนแปลงคือ คณะกรรมการบริหาร สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ทําให
          ของแตละหนวยงานที่จะมีการรวมกันเปนคณะกรรมการชุด พรอมปฏิบัติงานไดทันทีและตอเนื่องโดยเฉพาะในดานการ
          เดียว ในลักษณะ Super Board ซึ่งจะทําใหการปฏิรูประบบ ใหทุนวิจัยและนวัตกรรมหลักของประเทศ

          วิจัยและนวัตกรรมของประเทศเปนรูปธรรมไดในดานนโยบาย
          ที่มีความเปนเอกภาพมากยิ่งขึ้น
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         10                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15