Page 15 - 103
P. 15
รอบรูงานวิจัย
ขอสังเกตเกี่ยวกับภาษาไทยในการเขียนรายงานการวิจัย
รายงานการวิจัยโดยทั่วไปจะเขียนตามลีลา (Style) วิชาการ คือ ใชภาษาเขียน
ที่สุภาพและภาษาทางการอยางเครงครัด ไมใชภาษาพูดหรือภาษาที่แสดงความสนิทสนม
เนื้อหาที่เขียนควรกระชับ ตรงประเด็น นอกจากนี้ผูเขียนรายงานจะตองคํานึงถึงประเด็นตาง ๆ
ดานภาษาดวย โดยเฉพาะเมื่อเขียนรายงานการวิจัยเปนภาษาไทย ผูเขียนรายงานควรยึด
แนวทางตอไปนี้ คือ
1 การสะกดการันตคําในภาษาไทย ควรถือตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งเปนมาตรฐานการใชภาษาของ
ทางราชการ ถาไมแนใจวาจะเขียนคําใดอยางไร ตองตรวจสอบพจนานุกรมฉบับนี้เสมอ ยกตัวอยางคําที่ผูเขียน
รายงานการวิจัยมักจะสะกดผิด เชน อะลูมิเนียม (ไมใช “อลูมิเนียม”) ดุล (ไมตองมี ย) ปฏิกิริยา (ไมใช “ปฏิกริยา”)
2 การทับศัพทคําในภาษาตางประเทศเปนภาษาไทย ควรใชหลักเกณฑของราชบัณฑิตยสถาน (โปรดดูหนังสือหลักเกณฑ
การทับศัพทภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษารัสเซีย ภาษาญี่ปุน ภาษา
อาหรับ ภาษามลายู ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พ.ศ. 2535) เชน ซอฟตแวร (Software) อินเทอรเน็ต (Internet)
แอนะล็อก (analog) ดิจิทัล (digital)
3 ควรใชลักษณนามที่เปนหนวยของการนับใหถูกตอง เชน
“โจร 3 คนบุกเขาปลนรานคา” (ไมใช “3 โจรบุกเขาปลนรานคา”) “เกิดอุบัติเหตุ ทําใหมีผูเสียชีวิต 4 คน” (ไมใช
“เกิดอุบัติเหตุ ทําใหมีผูเสียชีวิต 4 ศพ”) โปรดดูหนังสือลักษณะนาม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พ.ศ. 2546
4 สรางประโยคใหกระชับ โดยพยายามตัดคําฟุมเฟอยทิ้ง เชน ตัดคําที่ขีดเสนใตไวในขอความตอไปนี้ คือ “ผูวิจัยได
ทําการวัดกระแสไฟฟา” “มาตรตัวนี้มีความทันสมัย” “เขาดําเนินความพยายามที่จะเขียนรายงานใหเสร็จ” “ในอดีต
ที่ผานมา” “ในอนาคตขางหนา”
5 ใชคําบุพบท “ตอ” “แก” และ “กับ” ใหถูกตองเหมาะสม เชน
“เขารองเรียนตอผูใหญ” (ไมใช “แก” หรือ “กับ”)
“เขาใหเงินแกลูกหลานของเขา” (ไมใช “ตอ” หรือ “กับ”)
“วัดอยูใกลกับบาน” (ไมใช “ตอ” หรือ “แก”)
6 ควรใชคําไทยและสํานวนไทยแทนคําและสํานวนภาษาตางประเทศ เชน “สมาคมนี้จัดกิจกรรมอยางสมํ่าเสมอ” (แทนที่จะ
ใช “สมาคมนี้จัด activity อยางสมํ่าเสมอ”) “เขาตางกับฉัน” (แทน “เขาตางจากฉัน”) “เขานั่งอยูระหวางฉันกับ
เพื่อน” (แทน “เขานั่งอยูระหวางฉันและเพื่อน”) “เพื่อใหเขาใจไดงาย” (แทน “เพื่อใหงายตอความเขาใจ”) โปรด
ดูหนังสือ ศัพทตางประเทศที่ใชภาษาไทยแทนได ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พ.ศ. 2549
7 ใชการเวนวรรคและเครื่องหมายวรรคตอนใหเหมาะสม เพื่อไมใหขอความกํากวม เชน ประโยคที่วา “ยาขนานนี้กินแลว
แข็งแรง ไมมีโรคภัยเบียดเบียน” ไมเขียนวา “ยาขนานนี้กินแลวแข็งแรงไมมี โรคภัยเบียดเบียน” ซึ่งทําใหความ
หมายผิดไป โปรดดูหนังสือหลักเกณฑการใชเครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ หลักเกณฑการเวนวรรค
หลักเกณฑการเขียนคํายอ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พ.ศ. 2588
8 สรางประโยคใหถูกตองตามหลักไวยากรณไทย และเรียงลําดับประโยคใหความกระชับ โดยวางประธาน กริยา กรรม หรือ
ประโยคขยายใหถูกที่ เชน ประโยควา “การรายงานขอมูลในบทความวิจัยหรือในเอกสารจะตองถือวาขอมูลนั้นถูกตอง”
ควรเขียนประโยคใหกระชับวา “จะตองถือวาการรายงานขอมูลในบทความวิจัยหรือในเอกสารนั้นถูกตอง”
ขอขอบคุณขอมูลจาก : หนังสือคูมือ “นักวิจัยมือใหม” จัดทําโดย กลุมทรัพยากรบุคคล
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0 2579 1370 - 9
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 15