Page 16 - จดหมายข่าว วช 104.indd
P. 16

กิจกรรม วช.


                                      การประชุมหารือ “ความรวมมือไทย – อังกฤษ
                         เพื่อหาแนวทางนําผลงานวิจัยและนวัตกรรมมาใชประโยชนในเชิงพาณิชย”


                 ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม รองศาสตราจารย
          นายแพทยสรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม พรอมดวย ศาสตราจารย
          นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ทําหนาที่ ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ และ
          คณะผูบริหารกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ใหการตอนรับ นายไบรอัน จอหน เดวิดสัน (H.E.
          Mr. Brian John Davidson) เอกอัครราชทูตวิสามัญผูมีอํานาจเต็มแหงสหราชอาณาจักรประจําประเทศไทยและคณะ เมื่อ
          วันที่ 2 ตุลาคม 2562 ณ หองพระจอมเกลา ชั้น 4 สํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
                 ในการนี้ ไดมีการหารือรวมกันในเรื่องความรวมมือในกรอบ Newton Fund ซึ่งใหมีสอดคลองกับ นโยบาย Thailand
          4.0 ความรวมมือดาน Frontier Technology การเชิญใหบริษัทเอกชนของสหราชอาณาจักรเขามาลงทุนในเขตนวัตกรรม
          การคาและการลงทุน และแนวทางการดําเนินงานเพื่อนําผลงานวิจัยมาใชประโยชนอยางเปนรูปธรรมในเชิงพาณิชย
                 ในสวนความรวมมือไทย – อังกฤษของสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ศาสตราจารย นายแพทยสิริฤกษ ฯ ได
          นําเสนอเกี่ยวกับความรวมมือในกรอบ Newton Fund (Institutional Links และ Global Impact Grants) รวมถึง
          โปรแกรมพัฒนาศักยภาพผูบริหารของ วช. และหนวยงานที่เกี่ยวของดานการบริหารจัดการทุนวิจัย ซึ่งจะจัดขึ้นทั้งในไทย
          และในอังกฤษตอไป


             การประชุมหารือระหวางรัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม

                                       กับผูแทนสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตรแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน

                                      วันที่ 2 ตุลาคม 2562 ณ หองประชุมรัฐมนตรี ชั้น 2 อาคารพระจอมเกลา สํานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา
                               วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ
                               นวัตกรรม รองศาสตราจารย นายแพทยสรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม พรอม
                               ดวยศาสตราจารย นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ทําหนาที่  ผูอํานวยการสํานักงานการ
                               วิจัยแหงชาติ และคณะผูบริหารกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ใหการตอนรับ Dr. Wang
                               Junwei รองผูอํานวยการสํานักงานนวัตกรรมและความรวมมือ สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตรแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                               ประจําประเทศไทย (CASICCB) และ Mr. Cao Zhouhua, First Secretary สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน
                               ประจําประเทศไทย ที่เขาเยี่ยมคารวะและมีการหารือประเด็นการสงเสริมความรวมมือดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ
                               นวัตกรรม เพื่อขับเคลื่อน Thailand 4.0 (EECi, BCG Strategic Partnership) รวมไปถึงความรวมมือกับอุทยานวิทยาศาสตร
                                      ในการนี้ ศาสตราจารย นายแพทยสิริฤกษ ฯ  ไดนําเสนอเกี่ยวกับความรวมมือไทย – จีน ของสํานักงานการ
                               วิจัยแหงชาติ (วช.) ซึ่งประกอบดวย ความรวมมือกับ NSFC (National Natural Science Foundation of China) ดาน
                               Renewable Energy และ Future Earth และความรวมมือกับ CAS ในการจัดตั้งศูนยแหงความเปนเลิศนานาชาติดิจิทัล
                               หนึ่งแถบหนึ่งเสนทางภายใต The Digital Belt and Road (DBAR) แหงภูมิภาคเอเชีย เพื่อประโยชนดานการติดตาม
                               การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการจัดการภัยพิบัติของภูมิภาค


             วช. นําสื่อมวลชนติดตามการขยายผล “ธนาคารปูมา” :  ปูมาสัตวเศรษฐกิจ สรางรอยยิ้มใหกับชุมชน

                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) นําคณะสื่อมวลชนลงพื้นติดตามความกาวหนาของการขยายผล
          “ธนาคารปูมา” ระหวางวันที่ 16 – 19 ตุลาคม 2563 ณ จังหวัดสุราษฎรธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช
          ภายใตกิจกรรมประชาสัมพันธและเผยแพร ผลงานวิจัย ผลงานประดิษฐคิดคนโครงการสื่อมวลชนสัญจร
          ป 2563 ครั้งที่ 1 “ปูมาสัตวเศรษฐกิจ สรางรอยยิ้มใหกับชุมชน” เพื่อใหสื่อมวลชนเปนสื่อกลางในการ
          ประชาสัมพันธและเผยแพรผลงานและกิจกรรมของ วช. ไปสูชุมชนและสาธารณชนใหไดทราบและนําไปสูการใชประโยชน
                 “ธนาคารปูมา” เปนการดําเนินการตามคณะรัฐมนตรี ในคราวประชุมเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2561 ไดมีมติเห็นชอบการ
          ขยายธนาคารปูมาเพื่อ “คืนปูมาสูทะเลไทย” ไปสูชุมชนอื่น ๆ อยางรวดเร็วในชุมชนชายฝง จํานวน 500 ชุมชน ในระยะเวลา 2 ป
          โดยมอบหมายให วช. เปนหนวยงานหลักในการบูรณาการการขยายผลการพัฒนาธนาคารปูมา โดยนําองคความรูดานการวิจัยและ
          นวัตกรรมที่มีอยู ขยายผลสูชุมชนประมงชายฝง พรอมทั้งใหมีการทําวิจัยเพิ่มเติม ผลสําเร็จจากโครงการธนาคารปูมา ทําใหชาว
          ประมงพื้นบานไดใหความรวมมือและพรอมใจตอการดําเนินกิจกรรมนี้เปนอยางดี โดยมีการเรียนรูและตระหนักถึงความจําเปน
          และประโยชนของการอนุรักษทรัพยากรปูมาเพื่อรักษาระดับการทําประมงปูมาของชาวประมงชายฝงใหเพียงพอแกการประกอบ
          อาชีพไดอยางตอเนื่อง ตลอดจนไดเขามามีสวนรวมในการใหขอมูลดานการวิจัยที่เกี่ยวของอยางเขมแข็ง ทําใหชาวประมงสามารถ
          จับปูมาไดเพิ่มมากขึ้น และเมื่อสํารวจบริเวณใกลเคียงพบลูกปูมาวัยออนบริเวณชายหาดและปาชายเลนเพิ่มมากขึ้นอยางเห็นไดชัด
          ทําใหชาวประมงพื้นบานรับรูถึงการเพิ่มขึ้นของปูมาจากโครงการธนาคารปูมา กอใหเกิดการสรางรายไดใหชุมชน และเกิดการขับ
          เคลื่อนเศรษฐกิจไดอยางเปนรูปธรรม ปจจุบันไดมีการขยายผลธนาคารปูมาไปแลวรวมทั้งสิ้น 543 ชุมชน ใน 20 จังหวัด
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16