Page 14 - จดหมายข่าว วช 105.indd
P. 14

กิจกรรม วช.


                  วช. นําคณะนักวิจัยและนักประดิษฐ
                  วช. นําคณะนักวิจัยและนักประดิษฐไทยไทยไทย
                  วช. นําคณะนักวิจัยและนักประดิษฐ
                           ควารางวัลระดับนานาชาติ



                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดเล็งเห็นความสําคัญของการสงเสริม
          และผลักดันใหผลงานวิจัยและผลงานประดิษฐคิดคนของนักวิจัยและนักประดิษฐไทยไดกาวสูเวทีระดับโลก เพื่อเปนการสรางโอกาสในการ
          แลกเปลี่ยนประสบการณกับนักวิจัยและนักประดิษฐนานาชาติ และพัฒนายกระดับศักยภาพของนักวิจัยและนักประดิษฐไทย ตลอดจนการ
          สรางขวัญกําลังใจที่จะสรางสรรคผลงานที่มีคุณภาพออกสูตลาดโลกใหมากยิ่งขึ้น และเพื่อใหเกิดผลสําเร็จที่บรรลุตามเปาหมายดังกลาว วช.

          จึงมีความพยายามที่จะทําหนาที่ในการประสานงานระหวางหนวยงานหรือองคกรในประเทศไทย และหนวยงานหรือองคกรในตางประเทศ
          ที่จะรวมกันในการสนับสนุนใหผลงานที่มีศักยภาพตาง ๆ ไดเขารวมจัดแสดงนิทรรศการในเวทีที่ไดรับการยอมรับในระดับสากลใหมากขึ้น ซึ่งจะ
          กอใหเกิดความรวมมืออันดีระหวางหนวยงานหรือองคกรในประเทศไทยกับหนวยงานหรือองคกรในตางประเทศ ซึ่งจากผลการดําเนินงาน
          ที่ผานมา ปรากฏผลสําเร็จเปนอยางดียิ่งในการที่นักวิจัยและนักประดิษฐไทยใหความสนใจในการนําผลงานเขารวมในเวทีตาง ๆ มากขึ้น อีกทั้ง
          ยังสามารถควารางวัลจากการประกวดผลงานในเวทีนานาชาติ ไดเปนจํานวนหลากหลายรางวัลจากหลายองคกร ดังเชนการนําผลงาน
          เขารวม งาน iENA 2019 ณ เมืองนูเรมเบิรก สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี และงาน SIIF 2019 ณ กรุงโซล  สาธารณรัฐเกาหลี ดังนี้

                     งาน “The International Trade Fair-Ideas, Inventions and New Products (iENA 2019)”
                   จัดขึ้นระหวางวันที่ 31 ตุลาคม – 3 พฤศจิกายน 2562 ณ เมืองนูเรมเบิรก สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

                                                              ผลงานจากประเทศไทยยังไดรับรางวัลพิเศษ (Special Prizes)
                                                              จากองคกรหรือหนวยงานตางประเทศอีกหลายผลงาน โดยใน
                                                              ครั้งนี้ ศาสตราจารย นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล เลขาธิการ
                                                              คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ทําหนาที่ ผูอํานวยการสํานักงานการ
                                                              วิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให ดร.วิภารัตน ดีออง รองผูอํานวยการ
                                                              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ นําคณะนักวิจัยและนักประดิษฐไทย

                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)              นําผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมที่ไดรับการคัดเลือกจาก
         นําคณะวิจัยและนักประดิษฐไทยจาก                      หนวยงานเครือขายวิจัย รวมประกวดเพื่อสรางการยอมรับใน
         9 หนวยงานควารางวัลระดับนานาชาติ                    มาตรฐานของผลงานไทยและสรางโอกาสในการพัฒนาศักยภาพ
         จากงาน “The International Trade Fair-Ideas, Inventions  นักวิจัยและนักประดิษฐไทย ในเวทีนานาชาติที่มีชื่อเสียงและเปน
         and New Products” (iENA 2019) ที่จัดขึ้นระหวางวันที่ 31  ที่ยอมรับระดับโลก “The International Trade Fair-Ideas,
         ตุลาคม - 3 พฤศจิกายน 2562 ณ เมืองนูเรมเบิรก สหพันธ Inventions and New Products” จัดขึ้นเปนปที่ 71 เปนเวที
         สาธารณรัฐเยอรมนี รางวัลที่ไดรับประกอบดวย 1) Gold Medal  การประกวดผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมระดับนานาชาติ
         4 ผลงาน 2) Silver Medal 13 ผลงาน 3) Bronze Medal  ที่สําคัญในสหภาพยุโรป โดยมีนักวิจัยและนักประดิษฐจากทั่วโลก

         6 ผลงาน และรางวัลเหรียญทอง ไดแก ผลงานเรื่อง “อุปกรณ นําผลงานเขาประกวดและจัดแสดงกวา 800 ผลงาน จากกวา
         ถางขยายผนังหัวใจหองบนจากวัสดุฉลาดสําหรับผูปวยภาวะ 30 ประเทศ ซึ่งมีผูเขารวมชมงานมากกวา 10,000 คน สําหรับ
         หัวใจลมเหลว” โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี  9 หนวยงานจากประเทศไทยที่รวมควารางวัลในงาน “The
         ผลงานเรื่อง “การประเมินอายุใชงานที่เหลือของหมอแปลงสําหรับ International Trade Fair - Ideas, Inventions and New
         เครื่องกําเนิดไฟฟา” โดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย  Products” (iENA 2019) ไดแก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
         (กฟผ.) ผลงานเรื่อง “ตูควบคุมโหลดเบรกสวิตช ชนิด FS6 แบบ (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
         อเนกประสงค” โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) ผลงานเรื่อง  พระจอมเกลาธนบุรี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
         “เครื่องหมุนรีลสายไฟ (แบบเคลื่อนยายอิสระ) พรอมขาตั้งรีล ธรรมศาสตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

         สายไฟ (แบบไมตองใชคนควบคุม)” โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค
         (กฟภ.) พรอมนี้เปนที่นายินดีที่นักประดิษฐไทยสามารถควารางวัล
         พิเศษของงานคือ รางวัล The Thinker จากผลงานเรื่อง “อุปกรณ
         ชดเชยคากําลังไฟฟารีแอกทีฟขณะสตารทมอเตอรไฟฟาขนาด
         ใหญ” โดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) นอกจากนี้
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16