Page 12 - จดหมายข่าว วช 105.indd
P. 12

กิจกรรม วช.


          วช. ขับเคลื่อนความรวมมือการวิจัย “หนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง”


                  เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับภูมิภาค




                 ประเทศไทยไดŒจัดตั้ง “ศูนยแห‹งความเปšนเลิศนานาชาติ
          ดิจิทัลหนึ่งแถบหนึ่งเสŒนทาง (DBAR)” ในโครงการหนึ่งแถบหนึ่ง
          เสŒนทางอันเปšนโครงการความร‹วมมือระดับนานาชาติระหว‹าง สํานักงาน
          การวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กับ Chinese Academy of Sciences (CAS)
          สาธารณรัฐประชาชนจีน เปšนหนึ่งในจํานวน 8 ศูนยทั่วโลก ที่ไดŒมีการ
          จัดตั้งในประเทศต‹าง ๆ ไดŒแก‹ ไทย ฟนแลนด อิตาลี ปากีสถาน โมรอคโค
          รัสเซีย สหรัฐอเมริกา และแซมเบีย โดยศูนย DBAR ที่ วช. เปšนศูนยกลาง
          ความเปšนเลิศนานาชาติแห‹งเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตŒ


                 เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2562 ศาสตราจารย นายแพทย
          สิริฤกษ ทรงศิวิไล เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ทําหนาที่
          ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดรับเชิญใหกลาวบรรยาย
                                            th
          Keynote Speech ในพิธีเปดการประชุม “4  Digital Belt and
          Road Conference” ที่เมืองเซินเจิ้น สาธารณรัฐประชาชนจีน

          โดยมีสาระสําคัญวา การสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศเพื่อ ไดแก 1) การประเมินความสามารถการจําลองภูมิอากาศของ
          จัดการกับความทาทายดานสิ่งแวดลอมและสังคม ซึ่งเปนปญหาที่ แบบจําลอง CAS - ESM และการคาดประมาณการเปลี่ยนแปลง
          สําคัญและเปนความทาทายที่ยิ่งใหญของโลกเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง  ภูมิอากาศในอนาคต ในพื้นที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
          เปาหมายของโครงการที่มุงเนนเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนมีความ โดยมหาวิทยาลัยรามคําแหง และ 2) การประเมินเชิงบูรณาการ
          สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) และ เปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืนโดยใชขอมูลจากการสํารวจโลก
          จะชวยสนับสนุนใหไทยพัฒนาประเทศเขาสูยุคดิจิทัลอยางเต็มตัว  ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสถาบันเทคโนโลยีแหง
          นอกจากนี้ การรวมพัฒนาแพลตฟอรม CASEarth ที่ใชระบบ เอเชีย รวมทั้งจะสงเสริมและสนับสนุนความรวมมือกับประเทศใน
          ขอมูล Big Earth Data จะชวยเสริมการดําเนินงานโครงการ ภูมิภาค ASEAN ในการแบงปนความเชี่ยวชาญ ความรู เทคโนโลยี
          ในระดับภูมิภาคโดยเฉพาะดานสังคมและสิ่งแวดลอม ที่ผานมา และขอมูล Big Earth Data ผานแพลตฟอรมขอมูลหลัก “CASEarth”
          ศูนยแหงความเปนเลิศนานาชาติ ดิจิทัลหนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง  ซึ่งพัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร 1,200 คนจาก 130 สถาบันทั่วโลก
          กรุงเทพมหานคร ไดรับการสนับสนุนการดําเนินงานทั้งในระดับชาติ  เพื่อแกปญหาคอขวดในการเขาถึงและการแบงปนขอมูล เกิดความ
          ระดับภูมิภาคและนานาชาติ จะชวยใหบรรลุวิสัยทัศนในเอเชีย กาวหนาทางวิชาการ รวมถึงการสรางระบบสนับสนุนการตัดสิน
          ตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะประเทศไทยและภูมิภาคจะไดรับ ใจในระดับนโยบายซึ่งสามารถนํามาสนับสนุนการดําเนินงานใน
          ประโยชนจากกรอบความรวมมือดังกลาว                  ประเด็นดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อบรรลุเปาหมาย

                 ศูนยแหงความเปนเลิศนานาชาติ ดิจิทัลหนึ่งแถบหนึ่ง การพัฒนาอยางยั่งยืน
          เสนทาง กรุงเทพมหานคร เปนโครงการความรวมมือระหวาง        การประชุม “4  Digital Belt and Road Conference”
                                                                                th
          สํานักงานการวิจัยแหงชาติ กับ The Digital Belt and Road  จัดขึ้นระหวางวันที่ 16 - 19 ธันวาคม 2562 ณ เมืองเซินเจิ้น
          (DBAR) Program สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตรจีน (Chinese  สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยกระดับความ
          Academy of Sciences) โดย วช. รวมกับอีก 3 หนวยงาน คือ  รวมมือ การสรางเครือขาย และการทํางานรวมกันเพื่อการพัฒนาที่
          สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ ยั่งยืนในระดับภูมิภาค ใหบรรลุเปาหมายแหงการพัฒนาอยางยั่งยืน
          และภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) และมหาวิทยาลัยรามคําแหง  (Sustainable Development Goal: SDGs) ในประเทศหนึ่งแถบ
          ทําการวิจัยและบูรณาการขอมูลดานการเปลี่ยนแปลงสภาพ หนึ่งเสนทาง (One Belt One Road) ทําความเขาใจและสื่อสาร
          ภูมิอากาศ การจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ การศึกษาวิจัยดาน ปญหาที่เกี่ยวของกับการรวบรวมขอมูลพื้นฐานสําหรับตัวชี้วัด
          สิ่งแวดลอม การเสริมสรางขีดความสามารถดานการวิจัย รวมทั้ง เปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืน ความทาทายและความสําเร็จ
          การดําเนินงานดานตาง ๆ ที่มุงสูเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งให ในการใช Big Earth Data จากประสบการณในปจจุบันหรือ
          ความสําคัญกับ 2 ประเด็นหลักคือ การเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศ  โครงการที่เสร็จสมบูรณ โดยมีนักวิจัยและผูบริหาร จํานวน 350 คน
          และภาวะภัยพิบัติตาง ๆ โดยทางไทยมีโครงการนํารอง 2 โครงการ  จาก 30 ประเทศทั่วโลกเขารวมการประชุม
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         12                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16