Page 8 - จดหมายข่าว วช 105.indd
P. 8

งานวิจัยเพ� อประชาชน


                2.  กรรมวิธีการผลิตกรรมวิธีการผลิตกรรมวิธีการผลิต
                 2.  2.                                              4.  ตŒนแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมจากหญŒาแฝก ดังภาพ
                  การผลิตการแปรรูปใบหญาแฝกนั้นสามารถทําได ตอไปนี้
          หลายวิธีผูเขียนจะขอกลาวถึงวิธีการและเทคนิคการแปรรูป
          ใบหญาแฝกจําแนกได 5 วิธี ดังนี้
                       การสาน คือการใชหลักการนําหญาแฝกมาไขว
          สลับกันไปมา อาจจะใชหุนหรือไมใชหุนก็ได การสานของไทย

          นั้นมีรูปแบบตางกันไปมากมาย ทั้งที่แตกตางดวยลักษณะของ
          แบบลายแลว วัสดุที่ใชในการสานก็มีความแตกตางกัน ในดาน
          ลวดลายที่สานนั้นสวนมากจะสานดวยลายใดนั้นก็ขึ้นอยูกับ
          ความเหมาะสมของการนําไปใชหรือการผลิตผลิตภัณฑนั้น ๆ
                       การถัก การถักจะใชวัสดุที่เปนเสนออนและมี
          ความยาวพอสมควร ใชยึดโครงสรางภายนอกใหติดกับผนัง
          ของผลิตภัณฑ เชน การถักขอบภาชนะ การถักหูภาชนะ หรือ
          การถักโครงตาง ๆ ของภาชนะ เปนตน การถักนี้บางครั้งจะ      จากการพัฒนาผลิตภัณฑหัตถกรรมจากใบหญาแฝก

          เรียกวาการผูกก็ได ลักษณะการถักหรือการผูกภาชนะโดยทั่วไป  ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาชุมชนให
          จะมีระเบียบที่เปนลักษณะเฉพาะของการถักแตละแบบ เชน เขมแข็งในรอบดาน (กรณีชุมชนพื้นที่โครงการหวยองคต
          เดียวกับแบบของการสาน การถักจะเปนการเสริมเพื่อให อันเนื่องมาจากพระราชดําริ  อําเภอหนองปรือ  จังหวัด
          เครื่องจักสานมีความสมบูรณยิ่งขึ้น                  กาญจนบุรี) สงผลดีตอชุมชน อาทิ ดานทรัพยากรกับชุมชน
                       การพัน วิธีการพันหญาแฝกที่ใชทําผลิตภัณฑ ที่มีหลักคิดที่วา การใชทรัพยากรที่มีอยูเปนทุนเดิมของตนเอง
          นั้นตองเปนเสนออนและมีความเหนียวพอสมควร ถาไดพันรวม หรือภายในทองถิ่นใหเกิดประโยชนสูงสุด มีการแบงปน
          กันเปนจํานวนมากดวยวิธีการพันอยางถูกตองก็อาจขึ้นเปนรูป วัตถุดิบในทองถิ่นอยางประหยัดในการนําใบมาใชทําผลิตภัณฑ
          ทรงตาง ๆ ได                                       หัตถกรรมจากใบหญาแฝก มีการสรางศักยภาพในการผลิต
                       การผูก ขั้นตอนการผูกมัดเบื้องตนมี 2 วิธี ดังนี้  และจําหนายตามกําลังตน รูคุณคา ดูแลรักษา และพัฒนา

          1) การผูกมัดลายตะขาบ และ 2) การผูกมัดลายดอกพิกุล    ตอยอด ดานชุมชนกับภูมิปญญาทองถิ่น ชุมชนเกิดความ
                       การตีเกลียว คือการนําหญามาตีเกลียว เพื่อ เขมแข็ง มีแนวคิดรวมกัน สามัคคีกัน มีเหตุผลเปนหลักยึดโยง
          ใชถักสิ่งของตาง ๆ เชน เกาอี้ หรือการตีเกลียวดวยมือใชงาน สะทอนภูมิปญญาของทองถิ่น และคานิยมที่ดีงาม ทั้งในระยะ
          ถัก ทอ เชน การทําแผนวางของรอนหรือจาน การตีเกลียว สั้นและระยะยาว ทั้งตอตนเองและตอผูอื่นอยางรอบครอบ
          ติดกระดุม การพันเกลียวติดหูกระเปา เปนตน          ดานชุมชนกับเศรษฐกิจ ชุมชนมีเศรษฐกิจที่เขมแข็ง หมุนเวียน
                                                              พอเหมาะพอควรกับสภาวการณ เปนตน สงผลใหสังคม

                3.  การทําแบบร‹างจากการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ สิ่งแวดลอม รวมถึงวัฒนธรรมและคานิยมที่ดีงามในทองถิ่น
          หัตกรรมจากใบหญŒาแฝก “กระเป‰าถือขนาดเล็ก” ดังภาพตอไปนี้  ไดมีการพัฒนาจากภายในสูภายนอก เขาใจถึงบริบทของตนเอง
                                                              และชุมชน นําพาความเจริญไปพรอมกับวัฒนธรรมของชุมชน
                                                              รวมถึงเรื่องราวประวัติศาสตรของทองถิ่นที่สามารถนําเสนอ
                                                              หรือแสดงออกผานทางรูปแบบรูปลักษณของผลิตภัณฑได
                                                              เปนอัตลักษณของชุมชน






                                                             ขอบคุณขอมูลจาก : I4BizBank Innovation  for Business
                                                             Bank สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) https://i4biz.nrct.go.th




           ผ ูŒสนใจรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตามไดŒทางเว็บไซต : I4BizBank Innovation  for Business Bank สํานักงานการวิจัย
           แห‹งชาติ (วช.) https://i4biz.nrct.go.th และอ‹านเพิ่มเติมไดŒที่ลิงก  https://i4biz.nrct.go.th/download/ebook/20001.pdf

                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13