Page 5 - nrct106
P. 5

งานวิจัยเพื่อประชาชน


                                วช. ขับเคลื่อน “ประเทศไทยไร้พยาธิใบไม้ตับ”








                 คนไทยเสียชีวิตจากโรคมะเร็งท่อน�้าดีจ�านวนกว่า 20,000
         รายต่อปี มากที่สุดในโลก โดยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
         อายุระหว่าง 40 - 60 ปี เป็นโรคที่รุนแรงและก่อให้เกิดความ
         สูญเสียทางเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตเป็นอย่างมาก
         การติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับเป็นสาเหตุส�าคัญของมะเร็งชนิดนี้
                 ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยบริหารทุน
         วิจัยหลักของประเทศ และเป็นหน่วยงานกลางที่ประสานเชื่อมโยง
         ทุกภาคส่วนมาท�างานร่วมกันบนฐานงานวิจัย ให้เกิดผลเป็น
         รูปธรรม มีโครงการวิจัยท้าทายไทยเป็นกลยุทธ์หลักและได้จัดสรร
         ทุนโครงการ “ประเทศไทย ไร้พยาธิใบไม้ตับ” ภายใต้โครงการ
         วิจัยท้าทายไทย ตั้งแต่ปี 2559 ให้กับเครือข่ายการวิจัย โดยมี
         มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นแกนน�าตั้งเป้าท้าทายโรคพยาธิใบไม้ตับ
         ให้หมดไปจากประเทศไทยภายใน 5 ปี โดยการบูรณาการความ
         ร่วมมือของนักวิจัยจากหน่วยงานต่าง ๆ และที่ส�าคัญคือชุมชน
         เพื่อให้เกิดผลลัพธ์อย่างยั่งยืน และจากการด�าเนินงานที่ผ่านมา
         โครงการวิจัยท้าทายไทย: ประเทศไทยไร้พยาธิใบไม้ตับ (Fluke
         Free Thailand) เกิดผลส�าเร็จเป็นอย่างมากจากการท�าวิจัยและ   4) ฟาร์มปลาปลอดพยาธิ /คู่มือการเลี้ยงปลาปลอดพยาธิ
         น�าผลไปใช้ในพื้นที่ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบที่ส�าคัญ ดังนี้  และข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการเลี้ยงปลาปลอดพยาธิ
                 1  ลดอัตราผู้ป่วยติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในกลุ่มเสี่ยงจาก  5) ต้นแบบการจัดการสิ่งปฏิกูลด้วยระบบลานทรายกรอง
         ร้อยละ 42.8 เป็นร้อยละ 13.4 และขณะนี้ลดลงเหลือร้อยละ 7.7   ร่วมกับโรงเรือนกระจก
         เท่ากับลดลง 6 เท่า                                          6) หลักสูตรการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็ง
                 2  เพิ่มการเข้าถึงการรักษา โดยจ�านวนผู้ป่วยมะเร็งท่อน�้าดี   ท่อน�้าดีระดับประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย
         ระยะเริ่มต้นสามารถเข้ารับการผ่าตัดเพิ่มจากร้อยละ 21.8 เพิ่มขึ้น  7) เครือข่ายนานาชาติการแก้ไขปัญหาพยาธิใบไม้ตับโดย
         เป็นร้อยละ 84.5 เท่ากับเพิ่มขึ้น 4 เท่า              ร่วมกับประเทศลาว
                 3  ลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งท่อน�้าดี โดย  8) รูปแบบการท�างานเพื่อแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับ
         อัตราการรอดชีวิตใน 5 ปีของผู้ที่เข้ารับการผ่าตัดเพิ่มจากร้อยละ   และมะเร็งท่อน�้าดีโดยผ่านกลไกคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อ
         17.3 เพิ่มเป็นร้อยละ 48.3                            ประชาชน (กขป.) และ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ
                 นอกจากนี้ โครงการยังได้สร้างและพัฒนาระบบ รวมถึง  อ�าเภอ (พชอ.)
         นวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมามากมาย อาทิ                            โครงการวิจัยท้าทายไทยซึ่งมีเป้าหมายชัดเจนนี้ ท�าให้
                 1) Isan Cohort ซึ่งเป็นระบบฐานข้อมูลเพื่อติดตามการ  เกิดการขับเคลื่อนการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อน�าไปใช้ในการ
         ท�างานในการคัดกรอง เฝ้าระวังและรักษา ทั้งกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วย  แก้ไขปัญหาส�าคัญให้กับประเทศอย่างแท้จริง และท�าให้ประชาชน
         โรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน�้าดี                   เข้าถึงการบริการที่เกี่ยวข้องกับโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็ง
                 2) ระบบการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงมะเร็งท่อน�้าดี ที่มีการลง  ท่อน�้าดี ทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ อย่างทันเวลา
         ทะเบียนกลุ่มเสี่ยงจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�าต�าบล   เท่าเทียม มีคุณภาพ และสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ซึ่งความ
         และท�าอัลตร้าซาวด์โดยแพทย์ โดยภาพของการตรวจจะถูกส่ง  ส�าเร็จจากโครงการวิจัยท้าทายไทยซึ่งเป็นโครงการส�าคัญที่มี
         เข้าระบบสามารถตรวจสอบและยืนยันผลโดยรังสีวิทยาแพทย์ผ่าน  เป้าหมายชัดเจน สามารถให้ทุนวิจัยขนาดใหญ่ (Block grant) อย่าง
         ระบบ Teleradiology Consultation System ซึ่งช่วยลดปัญหา  ต่อเนื่องหลายปี และมีการบริหารจัดการ ติดตามและประเมินผล
         การขาดแคลนแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและลดค่าใช้จ่ายของคนไข้ในการ  อย่างเป็นระบบนี้ วช. จึงได้รับมอบหมายจากกระทรวงการ
         เดินทางมารับการตรวจ                                  อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ขยายผลและ
                 3) คู่มือการผลิตปลาร้าและปลาส้มที่ปลอดพยาธิใบไม้ตับ  ขับเคลื่อนโครงการวิจัยท้าทายไทยในประเด็นส�าคัญต่าง ๆ ของ
         และโรงงานต้นแบบปลาร้าปลาส้มปลอดพยาธิ                 ประเทศในระยะต่อไป

         สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10