Page 9 - nrct106
P. 9
กิจกรรม วช.
“Future Thailand”
ประเทศไทยใน 20 ปีข้างหน้า
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) มุ่งสนับสนุนการวิจัย และ 10) คนและความเป็นเมือง โดยมิติต่าง ๆ จะ
โครงการประเทศไทยในอนาคตเพื่อวิเคราะห์รายละเอียดภาพ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โครงการนี้ยังจะ
ของประเทศไทยในอีก 20 ปีข้างหน้า โดยได้ร่วมกับหน่วยงาน เป็นการสร้างเครือข่ายการวิจัยและนักวิจัยชั้นน�าผู้ที่มี
และสถาบันวิจัยชั้นน�าระดับประเทศ 8 หน่วยงาน ได้แก่ ความเชี่ยวชาญในหลากหลายสาขาเข้ามาร่วมกันผลักดัน
มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบันพระปกเกล้า, สถาบันวิจัย และขับเคลื่อนงานวิจัยชิ้นส�าคัญนี้ อาทิ การพยากรณ์หรือ
เพื่อการพัฒนาประเทศไทย, สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, คาดการณ์สถานการณ์เรื่องส�าคัญที่จะเกิดขึ้น หากทราบว่า
ราชบัณฑิตยสภา, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, มูลนิธิ ประชากรไทยในช่วงเวลา 5 ปี 10 ปี 15 ปี และ 20 ปี จะมี
คลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ�านวนเท่าไร มีผู้จะเข้าสู่วัยท�างานจ�านวนเท่าไร จบการศึกษา
วิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นแบบแผนในทุกมิติ ด้านไหน ภาคการศึกษา/เอกชน สามารถคิดกลยุทธ์ในการ
วช. ได้สนับสนุนการวิจัยในประเด็นส�าคัญของ ด�าเนินการกิจกรรมได้สอดรับกับสถานการณ์ การเตรียมตั้งรับ
ประเทศภายใต้โครงการท้าทายไทย (Grand Challenge) ใน ของภาคอุตสาหกรรมจะสามารถน�าไปวางแผนเพื่อใช้ประโยชน์
เรื่อง “ประเทศไทยในอนาคต” หรือ “Future Thailand” หรือแม้กระทั่งการวิเคราะห์สังคม สภาพสังคม จากข้อมูล
ซึ่งในการศึกษาวิเคราะห์ภาพอนาคตมีความส�าคัญอย่างยิ่ง การแต่งงาน การเลือกประเภทที่อยู่อาศัย การย้ายถิ่นฐาน การ
ต่อการวางแผนเพื่อก�าหนดแนวทางการพัฒนารวมทั้งการ ผลิตสินค้าสู่กลุ่มผู้บริโภค แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค เป็นต้น
ตั้งรับกับสิ่งที่ไม่คาดหวัง ดังนั้นจึงเป็นที่มาของการศึกษา การคาดการณ์อนาคตเป็นเรื่องที่ไม่ง่ายเนื่องจาก
วิจัยเพื่อท�าฉากทัศน์และภาพของประเทศไทยโดยก�าหนด มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องมากมายทั้งภายในและภายนอก ผลลัพธ์
ทุกช่วง 5 ปี ในอีก 20 ปีข้างหน้า มุ่งเน้นใน 10 มิติส�าคัญ คือ และความแม่นย�าเป็นสิ่งที่ท้าทาย ทีมวิจัยซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญ
1) ประชากรและโครงสร้างสังคม 2) สังคม ชนบท ท้องถิ่น และหน่วยงานวิจัยหลักของประเทศจาก 8 หน่วยงาน จึงผนึก
3) การศึกษา 4) สิ่งแวดล้อมและพลังงาน 5) เศรษฐกิจ ก�าลังกัน อีกทั้งจะยังมีส่วนในการส่งเสริมการสร้างฐานความรู้
ผู้ประกอบการและอุตสาหกรรม 6) เศรษฐกิจไทย ให้กับหลายภาคส่วนในการน�าผลงานวิจัยชิ้นนี้ไปใช้ให้เกิด
เศรษฐกิจโลก เกษตรกรรมและการบริการ 7) วัฒนธรรม ประโยชน์ต่อไป และยังเป็นข้อมูลที่ภาคประชาชน เอกชน
และภาษาไทย (อัตลักษณ์ความเป็นไทย) 8) การเมือง ภาครัฐ จะสามารถเข้าถึงและน�าไปใช้ต่อยอดกิจกรรมต่าง ๆ
9) บริบทโลก ปัจจัยคุกคามและความมั่นคงของประเทศ ต่อไปได้
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 9