Page 12 - จดหมายข่าว วช 113
P. 12
การประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจ�าปี 2563
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา 2. กลุ่มการสาธารณสุข สุขภาพและเทคโนโลยีทาง
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้ให้ความส�าคัญต่อการสร้าง การแพทย์
นักวิจัยและนักประดิษฐ์ในการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพขีด รางวัลระดับดีเด่น ได้แก่ ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ตรวจ
ความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนาการประดิษฐ์คิดค้นในสถาบัน วัดมะเร็งเต้านมส�าหรับความแม่นย�าทางการแพทย์” ของ
การศึกษา โดยเสริมสร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะและเทคนิค มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ด้านการประดิษฐ์คิดค้นและนวัตกรรม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้เข้าใจ รางวัลระดับดีมาก ได้แก่ ผลงานเรื่อง “ชุดตรวจวัณโรค
และเห็นถึงความส�าคัญของการวิจัยและนวัตกรรม โดยได้จัดการ ดื้อยาหลายขนานแบบอ่านผลด้วยตาเปล่าอย่างรวดเร็ว” ของ
ประกวดนวัตกรรมสายอุดมศึกษาเป็นประจ�าเพื่อบ่มเพาะความรู้และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สร้างแรงบันดาลใจแก่เยาวชน ในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งประดิษฐ์และ รางวัลระดับดี ได้แก่ ผลงานเรื่อง “สกรูขันกระดูกชนิด
นวัตกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ กัดเกลียวได้ในตัวเพิ่มประสิทธิภาพโดยกระบวนการปรับผิวด้วย
การพ่นยิงอนุภาคด้วยความเร็วสูง” ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
โดยในปี 2563 ได้ก�าหนดกลุ่มเรื่องผลงานสิ่งประดิษฐ์ พระจอมเกล้าธนบุรี
และนวัตกรรมให้มีความสอดคล้องกับกลุ่มเรื่องของ Thailand 4.0 3. กลุ่มการพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์อุปกรณ์
และ BCG โมเดล 4 กลุ่ม ดังนี้ การเกษตรและอุตสาหกรรม อัจฉริยะ พลังงานและสิ่งแวดล้อม
การเกษตร, การสาธารณสุข สุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์, รางวัลระดับดีเด่น ได้แก่ ผลงานเรื่อง “AgNPLs kit:
การพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์อุปกรณ์อัจฉริยะ พลังงานและ ชุดตรวจหาสารก�าจัดวัชพืชที่ตกค้างในแหล่งน�้าโดยใช้เทคนิค
สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทางแสงร่วมกับอนุภาคนาโนโลหะ” ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ทั้งนี้ในปี 2563 วช. ได้จัดให้มีการประกวดผลงานนวัตกรรมสาย พระจอมเกล้าธนบุรี
อุดมศึกษา และมีผลงานเข้าร่วมประกวด รวมทั้งสิ้น 142 ผลงาน รางวัลระดับดีมาก ได้แก่ ผลงานเรื่อง “ระบบการผลิต
ซึ่งมีผลงานที่ได้รับรางวัล ดังนี้ ไฟฟ้าร่วมกับก�าจัดขยะติดเชื้อทางการแพทย์” ของ มหาวิทยาลัย
รางวัลการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรมสายอุดมศึกษา แม่โจ้
ประจ�าปี 2563 รางวัลระดับดี ได้แก่ ผลงานเรื่อง “ชุดกล้อง “Microsis
1. กลุ่มการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร DCN” วิเคราะห์จุลชีพด้วยโครงข่ายประสาทส�าหรับสวมท่อ
รางวัลระดับดีเด่น ได้แก่ ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ตรวจวัด เลนส์ใกล้ตาของกล้องจุลทรรศน์” ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สารให้ความเผ็ดในพริกแบบพกพา” ของ มหาวิทยาลัยสงขลา 4. กลุ่มการพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจสร้างสรรค์
นครินทร์ รางวัลระดับดีเด่น ได้แก่ ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ตรวจวัด
รางวัลระดับดีมาก ได้แก่ ผลงานเรื่อง “เซ็นเซอร์ฐาน สารไซบูทรามีนแบบพกพา” ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กระดาษแบบพกพาส�าหรับตรวจวัดโลหะหนักในอาหารกระป๋อง รางวัลระดับดีมาก ได้แก่ ผลงานเรื่อง “การศึกษาและ
จากผลผลิตทางการเกษตร” ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พัฒนาผ้าไหมผสมใยสับปะรดเพื่อผลิตภัณฑ์แฟชั่นไลฟ์สไตล์
รางวัลระดับดี ได้แก่ ผลงานเรื่อง “วัคซีนแช่นาโนแบบ กรณีศึกษากลุ่มทอผ้าไหม บ้านท่าเรือ อ�าเภอนาหว้า จังหวัด
เกาะติดเยื่อเมือกต้านโรคเหงือกเน่าในปลา” ของ จุฬาลงกรณ์ นครพนม” ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มหาวิทยาลัย รางวัลระดับดี ได้แก่ ผลงานเรื่อง “เกมการศึกษาเพื่อ
การส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องวงจรไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์” ของ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
12 National Research Council of Thailand (NRCT)