Page 13 - จดหมายข่าว วช 113
P. 13
รางวัลผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจ�าปี 2563
1. กลุ่มการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร
รางวัลระดับดีเด่น ได้แก่ ผลงานเรื่อง “วัคซีนแช่นาโน
แบบเกาะติดเยื่อเมือกต้านโรคเหงือกเน่าในปลา” ของ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
รางวัลระดับดีมาก ได้แก่ ผลงานเรื่อง “PATHOGEN
Seeker kit : ชุดตรวจหาเชื้อ Salmonella Spp. ที่ปนเปื้อน
ในผลิตภัณฑ์อาหารโดยใช้นวัตกรรมนาโนปริซึม-แอปตาเมอร์”
ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
รางวัลระดับดี ได้แก่ ผลงานเรื่อง “เซ็นเซอร์ฐาน
กระดาษแบบพกพาส�าหรับตรวจวัดโลหะหนักในอาหารกระป๋อง
จากผลผลิตทางการเกษตร” ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. กลุ่มการสาธารณสุข สุขภาพและเทคโนโลยี
ทางการแพทย์
รางวัลระดับดีเด่น ได้แก่ ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ตรวจ
วัดมะเร็งเต้านมส�าหรับความแม่นย�าทางการแพทย์” ของ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4. กลุ่มการพัฒนาคุณภาพ
รางวัลระดับดีมาก ได้แก่ ผลงานเรื่อง “ที่นั่งอัจฉริยะ ชีวิตและเศรษฐกิจสร้างสรรค์
เพื่อป้องกันโรคปวดคอและหลังจากการนั่งเป็นระยะเวลานาน” รางวัลระดับดีเด่น ได้แก่
ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์คัดกรองเขม่าดินปืน”
รางวัลระดับดี ได้แก่ ผลงานเรื่อง “ชุดตรวจวัณโรค ของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ดื้อยาหลายขนานแบบอ่านผลด้วยตาเปล่าอย่างรวดเร็ว” ของ รางวัลระดับดีมาก ได้แก่ ผลงานเรื่อง “การพัฒนา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แอปพลิเคชันบนโทรทัศน์มือถือในการบันทึกข้อมูลระยะทางจาก
3. กลุ่มการพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์อุปกรณ์ การวัดด้วยเซนเซอร์อัลตราโซนิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
อัจฉริยะ พลังงานและสิ่งแวดล้อม ตรวจสถานที่เกิดเหตุ” ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รางวัลระดับดีเด่น ได้แก่ ผลงานเรื่อง “ชุดกล้อง รางวัลระดับดี ได้แก่ ผลงานเรื่อง “นวัตกรรมสิ่งทอ
“MicrosisDCN” วิเคราะห์จุลชีพด้วยโครงข่ายประสาทส�าหรับ โลหะรีไซเคิลสู่การสร้างสรรค์ตราสินค้าเครื่องแต่งกายสตรี
สวมท่อเลนส์ใกล้ตาของกล้องจุลทรรศน์” ของ จุฬาลงกรณ์ รูปแบบอาวองการ์ด” ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัย โดยได้จัดพิธีมอบรางวัลดังกล่าวในงาน “มหกรรมงานวิจัย
รางวัลระดับดีมาก ได้แก่ ผลงานเรื่อง “AgNPLs kit: แห่งชาติ 2563 (Thailand Research Expo 2020)” เมื่อวันที่ 5
ชุดตรวจหาสารก�าจัดวัชพืชที่ตกค้างในแหล่งน�้าโดยใช้เทคนิค สิงหาคม 2563 ณ เวที Highlight Stage ห้องคอนเวนชัน ชั้น 22
ทางแสงร่วมกับอนุภาคนาโนโลหะ” ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์
พระจอมเกล้าธนบุรี เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร โดยมี ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์
รางวัลระดับดี ได้แก่ ผลงานเรื่อง “อุปกรณ์ชาร์ท สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
แบตเตอรี่แรงดันต�่าด้วยพลังงานจากต้นไม้ : ระบบต้นแบบ ท�าหน้าที่ ผู้อ�านวยการส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ เป็นผู้มอบรางวัล
อันแรกของเมืองไทย” ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเกียรติบัตร
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 13