Page 13 - NRCT_118
P. 13
กิจกรรม วช.
การรื้อฟนการผลิตกระจกเกรียบและจืนแบบโบราณ
เพื่องานบูรณะและอนุรักษ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา อีกทั้งยังสามารถสรางผลิตภัณฑตนแบบประดับกระจกจืนและ
วิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เล็งเห็นความสําคัญของ กระจกเกรียบที่สามารถนําไปใชงานในการบูรณะโบราณสถานและ
วิทยาการดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรโดยเฉพาะการสราง โบราณวัตถุ และสรางผลิตภัณฑตนแบบที่ใชกระจกจืนและกระจก
องคความรูใหมจากประสบการณและภูมิปญญาของคนไทยซึ่งเปน เกรียบตกแตงเพื่อขยายผลเชิงพาณิชยในอนาคต
ฐานรากที่มั่นคงในการเสริมสรางการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ โดยเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2563 วช. ไดจัดงานแถลงขาว
โดยในป พ.ศ. 2559 วช. ไดสนับสนุนการวิจัย เรื่อง “การพัฒนา “การรื้อฟนการผลิตกระจกเกรียบและจืนแบบโบราณเพื่องาน
แกวคริสตัลปราศจากตะกั่วและการประดิษฐแกวคริสตัลบาง” บูรณะและอนุรักษ” พรอมกันนี้ไดถวายสัตภัณฑที่ประดับกระจกจืน
ภายใตแผนงานเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมดานวัสดุนาโนและ ซึ่งเปนกระจกที่ไดจากงานวิจัย ณ วัดชางฆอง อําเภอเมือง จังหวัด
นาโนเทคโนโลยี นําโดย รองศาสตราจารย ดร.กมลพรรณ เพ็งพัด เชียงใหม โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง รองผูอํานวยการสํานักงาน
นักวิจัย คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และคณะ ปจจุบัน การวิจัยแหงชาติ รักษาราชการแทนผูอํานวยการสํานักงาน
ไดพัฒนางานที่เนน “การประดิษฐแกวคริสตัลบางเพื่อประยุกต การวิจัยแหงชาติ เปนประธาน ซึ่งไดรับความรวมมือจากศิลปน
เปนกระจกโบราณ” รวมกับโรงงานการผลิตกระจกโบราณของ “ฝุน หอสูง” นายชาญยุทธ โตบัณฑิต ออกแบบและสรางสัตภัณฑ
นายรชต ชาญเชี่ยว และคณะ เพื่อพัฒนาสูตรกระจกโบราณใหม ๆ เปนความสําเร็จอยางเปนรูปธรรมของการนําผลงานวิจัยจาก
เปนกระจกจืนและกระจกเกรียบ จนสามารถนํากระจกจืนและ หองปฏิบัติการ ที่สามารถตอยอดทั้งเชิงพาณิชยและสามารถ
กระจกเกรียบไปบูรณะโบราณสถานและโบราณวัตถุไดหลายแหง นําไปทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของประเทศไทย เพื่อรักษามรดก
อันทรงคุณคาใหคงอยูเคียงคูคนไทยสืบไป
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 13