Page 6 - NRCT_118
P. 6

งานวิจัยเพ� อประชาชน


                การบริหารจัดการการทองเที่ยวเชิงเกษตรอยางยั่งยืน


                                         ในจังหวัดสมุทรสงคราม











                                              อุตสาหกรรมการท‹องเที่ยวเปšนอุตสาหกรรมบริการที่สรŒางรายไดŒใหŒกับประเทศ ในการ
                                         จัดการความรูŒครั้งนี้เนŒนการท‹องเที่ยวเชิงเกษตรเพื่อรักษาทรัพยากรใหŒคงอยู‹ไวŒอย‹างยั่งยืน

                                         นานที่สุด ทั้งที่เปšนธรรมชาติ วัฒนธรรม ภูมิป˜ญญาทŒองถิ่นและวิถีชีวิตของคนในชุมชนจังหวัด
                                         สมุทรสงคราม เพื่อนําไปสู‹การบริหารจัดการการท‹องเที่ยวเชิงเกษตรอย‹างยั่งยืน


                 การทองเที่ยวเชิงเกษตรอยางยั่งยืนในการจัดการ  และอําเภอบางคนที แตกลับเปนเมืองเล็กพริกขี้หนูเพราะมี
          ความรูครั้งนี้ คือการไดใชเวลาทองเที่ยวในระยะเวลาที่นาน  ตําแหนงที่ตั้งเปนจุดยุทธศาสตรที่ดีในการเชื่อมโยงระหวาง
          เพียงพออยูในสถานที่หนึ่ง เพื่อที่จะไดเรียนรูและเกิดความ  เมืองทองเที่ยวที่สําคัญ ไดแก กรุงเทพมหานคร ราชบุรี เพชรบุรี

          เขาใจในลักษณะการทองเที่ยวเชิงเกษตร ทําใหนักทองเที่ยว  และประจวบคีรีขันธ สงผลใหเกิดการทองเที่ยวซึ่งทําให
          ไดมีโอกาสปรับเปลี่ยนมุมมองของตนและเขาใจในความ     นักทองเที่ยวมีโอกาสไดรับประสบการณที่หลากหลาย
          แตกตางที่ไดเรียนรูจากธรรมชาติและวิถีชีวิตของชุมชน       จังหวัดสมุทรสงครามเปนจังหวัดที่มีความมั่งคั่ง
          ซึ่งรูปแบบการจัดโปรแกรมทองเที่ยว ไมควรจัดกิจกรรม  ทางวัฒนธรรมและมีเอกลักษณเฉพาะถิ่น ซึ่งเกิดจากจุดแข็ง

          มากจนเกินไปในแตละวัน เพื่อใหนักทองเที่ยวมีเวลาซึมซับ  ในแหลงที่ตั้งบริเวณปากนํ้าแมกลองมีคูคลองมากกวา 300 สาย
          ประสบการณในขณะทองเที่ยวและมีปฏิสัมพันธกับคนใน    สงผลใหเกิดวิถีชีวิตริมนํ้าและการทําเกษตรที่หลากหลาย
          ทองถิ่น ซึ่งเปนการทองเที่ยวหลายมิติที่เกิดจากสัมผัสทั้ง 5   จากสถานที่ตั้งอยูปากแมนํ้าเชื่อมกับทะเล จึงทําใหไดรับการ
          ของนักทองเที่ยว                                    ขนานนามวา “เมือง 3 นํ้า” ไดแก นํ้าเค็ม นํ้ากรอย และนํ้าจืด

                 สําหรับ “ชุมชน” ในการจัดการความรูวิจัยครั้งนี้   ซึ่งมีผลตอการพัฒนาอาชีพของคนในทองถิ่น เชน การทําสวน
          หมายถึง กลุมคนที่ตั้งถิ่นฐานอยูรวมกันในพื้นที่ทางภูมิศาสตร  ผลไม การทํานาเกลือ การทําประมง เปนตน ซึ่งไดชื่อวาเปน
          หรือเขตการปกครองเดียวกัน มีประวัติศาสตรความเปนมาและ  เมืองแหงสวนผลไมที่มีชื่อเสียงมาตั้งแตโบราณจนมาถึงปจจุบัน
          วัฒนธรรมรวมกัน มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน คนในชุมชนมา  และเปนที่รูจักกันในนาม “สวนในบางกอก สวนนอกบางชาง”

          รวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนรวมกันในการเรียนรูวิธี  จึงมีภูมิปญญาทางการเกษตรที่โดดเดน สามารถนํามาเชื่อมโยง
          การบริหารจัดการการทองเที่ยวรวมกัน จังหวัดสมุทรสงคราม  กับกระแสการทองเที่ยวเชิงเกษตรและเพิ่มมูลคาดวยการ
          เปนหนึ่งจังหวัดที่มีศักยภาพทางการทองเที่ยวและไดจัดให  ทองเที่ยวเชิงสุขภาพไดอยางกลมกลืนจะสงผลดีตอคนใน
          อยูในกลุมเมืองตองหาม (พลาด) โดยมีภาพลักษณวาเปน  ทองถิ่นและเปนการรักษาวัฒนธรรมทองถิ่นใหคงอยูสืบไป

          เมืองสายนํ้าสามเวลา แมวาเปนจังหวัดที่เล็กที่สุดที่มีเพียง   การบริหารจัดการการทองเที่ยวมีความสัมพันธกับ
             3 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองสมุทรสงคราม อําเภออัมพวา   สิ่งแวดลอมเพราะสงผลกระทบตอความยั่งยืน การทองเที่ยว


















                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11