Page 6 - NRCT_119
P. 6

รอบรูงานวิจัย


             จรรยาวิชาชีพในการทําวิจัย และแนวทางปฏิบัติ ตอนที่ 3



                                                จดหมายข‹าว วช. ฉบับที่ 118 เดือนมกราคม 2564 ไดŒนําเสนอเรื่อง “จรรยาวิชาชีพวช. ฉบับที่ 118 เดือนมกราคม 2564 ไดŒนําเสนอเรื่อง “จรรยาวิชาชีพ
                                                จดหมายข‹าว
                                         ในการทําวิจัย และแนวทางปฏิบัติ ตอนที่ 2” ซึ่งเปšนแนวทางปฏิบัติระหว‹างการดําเนินงานวิจัยไปแลŒว
                                         ส‹วนฉบับนี้จะเปšนตอนที่ 3 เปšนแนวทางปฏิบัติหลังการดําเนินงานวิจัย ซึ่งเปšนตอนจบของเรื่อง
                                         “จรรยาวิชาชีพในการทําวิจัย และแนวทางปฏิบัติ” ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้



           หลังการดําเนินงานวิจัย

                 นักวิจัยตองแนใจวารายงานผลการวิจัยมีความชัดเจนและมีขอมูลหรือหลักฐานสนับสนุนเพียงพอ ตองใหเกียรติและอางถึง
          นักวิชาการหรือแหลงขอมูลที่นํามาใชในรายงานผลการวิจัย ระบุและลําดับชื่อผูนิพนธอยางถูกตองเปนธรรม ไมสงบทความวิจัย
          หรือผลงานวิจัยเรื่องเดียวกันไปตีพิมพในวารสารมากกวาหนึ่งแหง ตองนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในทางที่ชอบธรรม และแสดง
          ความรับผิดชอบตอผลกระทบที่เกิดจากการนําเสนอผลงานวิจัยสูสาธารณะ ตองเก็บรักษาขอมูลและเอกสารสําคัญเกี่ยวกับการวิจัย
          ตามระยะเวลาที่หนวยงานตนสังกัดหรือแหลงทุนกําหนด เพื่อใหพรอมรับการตรวจสอบหากมีการรองขอ

           แนวทางปฏิบัติ

            •  จัดทําและเสนอรายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ ซึ่งมีรายละเอียดตามโครงรางและสวนประกอบตาง ๆ ในรายงานที่เปนที่ยอมรับของศาสตร
               สาขาที่วิจัยมีความชัดเจน มีขอมูลหรือหลักฐานสนับสนุนเพียงพอ ไมขยายขอคนพบจากงานวิจัยเกินความเปนจริงและตองจัดทําบทสรุป
               สําหรับผูบริหารตามความตองการของแหลงทุนและหนวยงานตนสังกัด ภายในกรอบเวลาที่กําหนด
            •  ใหเกียรติและอางถึงนักวิชาการ หรือแหลงที่มาของขอมูล แนวคิด ผลงาน และถอยคําที่ไดนํามาใชในรายงานการวิจัยและบทความวิชาการ
               ที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่วิจัย ตองไมแอบอาง หรือสรางขอมูลเท็จ หรือปลอมแปลงขอมูล หรือนําผลงานของผูอื่นมาเปนของตนเอง หรือนํา
               ผลงานเดิมหรือเกือบเหมือนเดิมของตนกลับมาใชอีกครั้งหนึ่ง โดยไมมีการอางถึงอยางชัดเจน
            •  ระบุและลําดับชื่อผูนิพนธในรายงานผลการวิจัย และบทความวิชาการ ตามที่ไดตกลงไวตั้งแตตนกับผูรวมวิจัย หรือที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม
               เมื่อมีเหตุผลอันควร และเปนที่ยอมรับในคณะผูรวมวิจัย โดยไมมีการละเมิดสิทธิความเปนผูนิพนธ
            •  แสดงความขอบคุณตอบุคคล คณะบุคคล และองคกรที่สนับสนุนงานวิจัยในกิตติกรรมประกาศ เพื่อเปนเกียรติวาเปนผูมีสวนในการผลิตผลงาน
               วิจัย ทั้งนี้ควรแจงใหผูที่จะไดรับการระบุชื่อทราบและใหคํายินยอมกอน
            •  สงบทความวิจัยหรือผลงานวิจัยไปตีพิมพในวารสารในประเทศและตางประเทศ ที่มีการประเมินและตรวจสอบคุณภาพโดยผูทรงคุณวุฒิ
               ที่เชี่ยวชาญในศาสตรที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่วิจัย
                            •  ไมสงบทความวิจัยหรือผลงานวิจัยเรื่องเดียวกัน ไปยังบรรณาธิการของวารสารมากกวาหนึ่งแหง โดยหวังวาจะเปนการ
                               เพิ่มโอกาสในการไดรับการตีพิมพมากขึ้น เนื่องจากการกระทําเชนนี้อาจทําใหเกิดการตีพิมพซํ้าซอน
                            •  สามารถตีพิมพผลงานวิจัยเรื่องเดียวกันมากกวาหนึ่งภาษาได หากวารสารที่สงผลงานวิจัยไปตีพิมพมีนโยบายรองรับ
                               หลักการดังกลาว ทั้งนี้นักวิจัยตองแจงใหบรรณาธิการทราบลวงหนาดวย
                            •  สามารถสงเรื่องเต็มของบทคัดยอที่ไดรับการตีพิมพในรายงานการประชุมวิชาการแลว ไปใหวารสารวิชาการพิจารณาได
                               แตควรแจงใหบรรณาธิการวารสารทราบดวย
            •  ไมพิมพผลงานวิจัยโดยการแบงยอยใหเปนหลายเรื่องเกินความเหมาะสม แตอาจทําไดหากบทความเหลานั้นมีเนื้อหาเหมือนกันไมเกินรอยละสิบ
               และตองไมใชตารางหรือภาพประกอบเดียวกัน ทั้งนี้นักวิจัยตองแจงใหบรรณาธิการวารสารที่ตนสงบทความไปไดรับทราบและยอมรับกอน
            •  เผยแพรผลงานวิจัยอยางกวางขวาง และครอบคลุมกลุมเปาหมายตาง ๆ เพื่อใหชุมชนและสังคมไดรับขอมูลขาวสารที่มีคุณคา และนําผลงาน
               วิจัยไปทันใชประโยชน ผลงานที่เผยแพรควรอยูในรูปแบบที่เขาใจงายและชัดเจน
            •  แสดงความรับผิดชอบตอผลกระทบหรือผลเสียที่อาจเกิดจากการนําเสนอผลงานวิจัยสูสาธารณะ และมีมาตรการรองรับหรือแกปญหา
               ความเขาใจผิดของสังคมที่มีตอผลงานวิจัยไวดวยอยางชัดเจน
            •  ไมเพิกเฉย และรีบแกไขใหสังคมเกิดความเขาใจที่ถูกตองอยางทันทวงที หากพบวามีผูนําผลงานวิจัยของตนไปบิดเบือนเพื่อประโยชนสวนตน
            •  มีมาตรการที่เปนระบบระเบียบและปลอดภัย ในการเก็บรักษาขอมูลและเอกสารเกี่ยวกับการวิจัย ตามระยะเวลาที่หนวยงานตนสังกัดหรือ
               แหลงทุนกําหนด หรือตามระยะเวลาที่เหมาะสมกับประเภทของขอมูล เพื่อความโปรงใสและพรอมรับการตรวจสอบหากมีการรองขอ
            •  สงมอบครุภัณฑไดรับจากแหลงทุน ใหหนวยงานตนสังกัดหรืออื่น ๆ ตามที่กําหนดไวในขอตกลงหรือสัญญาที่ทําไวกับแหลงทุนหรือหนวยงาน
               ตนสังกัด เมื่อเสร็จสิ้นการดําเนินงานวิจัย

                 แหล‹งขŒอมูล : หนังสือ “จรรยาวิชาชีพวิจัย และแนวทางปฏิบัติ” จัดทําโดย สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
                  * ขอมูลบทความ “จรรยาวิชาชีพในการทําวิจัย และแนวทางปฏิบัติ ตอนที่ 3” เปนเพียงบางสวนบางตอน
           จากหนังสือ จรรยาวิชาชีพวิจัย และแนวทางปฏิบัติ เทานั้น
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11