Page 14 - NRCT122
P. 14

กิจกรรม วช.




      ขอมูลใหมครั้งแรกของโลกเหยี่ยวดําไทยอพยพไปอินเดียูลใหมครั้งแรกของโลกเหยี่ยวดําไทยอพยพไปอินเดีย
      ขอม





                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
                                             วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สนับสนุนการติดตั้งระบบอุปกรณติดตามดวยเทคโนโลยี
                                             ดาวเทียมให “เจานาก” เหยี่ยวดําไทย พบนกบินผานเมียนมารไปอาศัยที่อินเดีย และ
                                             เปนขอมูลใหมครั้งแรกของโลกที่นกมีเสนทางอพยพจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก
                                             จากปกติจะเปนการอพยพจากทิศเหนือลงทิศใต นักวิจัยทุน วช. เดินหนาติดตั้งระบบ
                                             ติดตามดวยดาวเทียมใหเหยี่ยวอีก 6 ตัว เพื่อสํารวจเสนทางดังกลาว



                                                              และขณะนี้ไปอาศัยอยูในรัฐคานัทฑะกะ ประเทศอินเดีย รวมระยะทาง
                                                              อพยพประมาณ 4,000 กิโลเมตร และยังไดพบขอมูลใหมเกี่ยวกับ
                                                              เสนทางอพยพของเหยี่ยวดําไทย ซึ่งเดิมเขาใจวาเปนนกประจําถิ่นและ
                                                              อาศัยอยูในประเทศไทยเทานั้น ในป พ.ศ. 2564 นี้ทีมวิจัยจึงมีแผน
                                                              อาศัยอยูในประเทศไทยเทานั้น ในป พ.ศ. 2564 นี้ทีมวิจัยจึงมีแผน
                                                              ติดตามเหยี่ยวดําไทยดวยดาวเทียมเพิ่มอีก 6 ตัว เพื่อศึกษาเสนทาง
                                                              ติดตามเหยี่ยวดําไทยดวยดาวเทียมเพิ่มอีก 6 ตัว เพื่อศึกษาเสนทาง
                                                              ดังกลาววาเปนเสนทางการอพยพปกติ หรือเปนเสนทางเฉพาะ
                                                              ดังกลาววาเปนเสนทางการอพยพปกติ หรือเปนเสนทางเฉพาะ
                                                              เหยี่ยวดําไทยชื่อนากตัวเดียว
                                                              เหยี่ยวดําไทยชื่อนากตัวเดียว
                                                                     ทั้งนี้ นับเปนครั้งแรกของโลกในการติดอุปกรณติดตามดวย
                                                              ดาวเทียมใหเหยี่ยวดําไทย ซึ่งมีชื่อวิทยาศาสตรวา มิลวัส ไมแกรนส
                                                              ดาวเทียมใหเหยี่ยวดําไทย ซึ่งมีชื่อวิทยาศาสตรวา มิลวัส ไมแกรนส
                                                              โกวินทะ
                                                              โกวินทะ (Milvus migrans govinda) เนื่องจากกอนหนานี้ยังไมเคยมี
                                                              การศึกษาเหยี่ยวดําชนิดยอยโกวินทะดวยเทคโนโลยีดาวเทียม แตมีทีม
                                                              การศึกษาเหยี่ยวดําชนิดยอยโกวินทะดวยเทคโนโลยีดาวเทียม แตมีทีม
                 ผูชวยศาสตราจารย นายสัตวแพทย ดร.ไชยยันต เกสรดอกบัว  นักวิจัยอินเดียใชเทคโนโลยีดาวเทียมศึกษาเหยี่ยวดําชนิดยอยอีกชนิด
                 ผูชวยศาสตราจารย นายสัตวแพทย ดร.ไชยยันต เกสรดอกบัว  นักวิจัยอินเดียใชเทคโนโลยีดาวเทียมศึกษาเหยี่ยวดําชนิดยอยอีกชนิด
          หนวยวิจัยนกนักลาและเวชศาสตรการอนุรักษ คณะสัตวแพทยศาสตร  คือ เหยี่ยวดําอพยพ หรือ เหยี่ยวดําใหญ หรือ เหยี่ยวหูดํา ซึ่งมีชื่อ
          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หัวหนาโครงการวิจัยนิเวศวิทยาของ วิทยาศาสตรวา มิลลัส ไมแกรนส ลิเนียตัส (Milvus migrans lineatus)
          เหยี่ยวดําชนิดยอยประจําถิ่นในประเทศไทย ซึ่งไดรับการสนับสนุน  โดย วช. ไดตระหนักถึงสถานภาพการอนุรักษเหยี่ยวดํา
          การวิจัยจากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  ในประเทศไทยที่อยูในสถานะใกลสูญพันธ จึงไดสนับสนุนทุนวิจัย
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พบขอมูลการติดตามเหยี่ยวดํา ดังกลาวและไดจัดกิจกรรมประชาสัมพันธเผยแพรผลงานวิจัย โครงการ
          ไทยเพศผูชื่อ นาก รหัส R96 ซึ่งเกิดที่ อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก  สื่อมวลชนสัญจร ป 2564 ครั้งที่ 5 เรื่อง “นิเวศวิทยาของเหยี่ยวดํา
          เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ 2563 และไดรับการติดตั้งอุปกรณติดตามดวย ชนิดยอยประจําถิ่นในประเทศไทย” ระหวางวันที่ 24 - 25 กุมภาพันธ
          ดาวเทียมใหเหยี่ยวตัวดังกลาวซึ่งไดบินออกจากรังเมื่อวันที่ 15 เมษายน  2564 ณ อําเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เพื่อใหสื่อมวลชนเปน
                                                              สื่อกลางในการประชาสัมพันธเผยแพรผลงานวิจัยและกิจกรรมดังกลาว
          2563 โดยพบวา หลังจาก “นาก” ซึ่งเปนเหยี่ยวดําชนิดยอยประจําถิ่น สื่อกลางในการประชาสัมพันธเผยแพรผลงานวิจัยและกิจกรรมดังกลาว
                                                              ของ วช. ไปสูสาธารณชนในวงกวางเพื่อใหรับทราบและนําไปสูการวช. ไปสูสาธารณชนในวงกวางเพื่อใหรับทราบและนําไปสูการ
                                                              ของ
          เติบโตพรอมออกจากรัง ไดเดินทางออกจาก ตําบลทาเรือ อําเภอปากพลี  ของ วช. ไปสูสาธารณชนในวงกวางเพื่อใหรับทราบและนําไปสูการ
                                                              ใชประโยชนตอไป
          เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผานเสนทางเทียนมาร บังคลาเทศ  ใชประโยชนตอไป



















                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16