Page 5 - NRCT122
P. 5

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล
                    งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล

          จากหนากากดํานํ้าสูหนากากปองกันโควิด-19
          จากหนากากดํานํ้าสูหนากากปองกันโควิด-19
          จากหนากากดํานํ้าสูหนากากปองกันโควิด-19
          จากหนากากดํานํ้าสูหนากากปองกันโควิด-19
          จากหนากากดํานํ้าสูหนากากปองกันโควิด-19
          จากหนากากดํานํ้าสูหนากากปองกันโควิด-19
          จากหนากากดํานํ้าสูหนากากปองกันโควิด-19
                 ท‹ามกลางวิกฤติโควิด-19 ที่ทําใหŒ
          อุปกรณป‡องกันเชื้อโรคสําหรับบุคลากร

          แพทยขาดแคลน ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัย
          นวมินทราธิราชจึงระดมความคิดเพื่อ
          ประยุกตสิ่งใกลŒตัวใหŒกลายเปšนอุปกรณ
          รับมือการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา
          สายพันธุใหม‹ 2019 และชุดหนŒากาก
          PAPR จากหนŒากากดํานํ้าคือ
          หนึ่งในนวัตกรรมที่ดัดแปลง

          ขึ้นมารับมือกับเชื้อโรค










                 หนากากดํานํ้าที่ประกอบเขากับชุดกรองอากาศ 1) แบบ Loose-Fitting PAPR ซึ่งเปนชุด PAPR ที่มีขนาดใหญ
          เปนหนึ่งในงานวิจัยการพัฒนาหนากากปองกันเชื้อโรคแบบ และ 2) แบบ Tight-Fitting PAPR ที่เปน mini PAPR ซึ่งมี
          คลุมศีรษะชนิดมีพัดลมพรอมชุดกรองอากาศประสิทธิภาพ ขนาดเล็กและกระชับใบหนามากกวา

          สูงเพื่อรับมือสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา     งานวิจัยดังกลาวเปนผลจากการขาดแคลนอุปกรณ
          2019 ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)  ปองกันสวนบุคคลสําหรับบุคลากรทางการแพทยที่ตองทํางาน
          กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.)  เพื่อรับมือสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งไมมี
          โดยมี ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยอนุแสง จิตสมเกษม  โรงพยาบาลใด ๆ ในประเทศไทยหรือในโลกที่เตรียมพรอม
          รองคณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช  กับการแพรระบาดของโรคดังกลาวมากอน ทําใหเกิดการ

          เปนหัวหนาโครงการวิจัย และรวมพัฒนากับทีมวิจัยภาควิชา ขาดแคลนอุปกรณปองกันสวนบุคคลและหนากากอนามัย N95
          เทคโนโลยีวิทยาลัยชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช  ซึ่งปกติมีการสํารองอุปกรณดังกลาวอยูในจํานวนไมมากนัก
          โดยหนากากปองกันเชื้อโรคแบบคลุมศีรษะชนิดมีพัดลม และมีใชเพื่อการรักษาผูปวยวัณโรคหรือผูปวยอีสุกอีใส
          พรอมชุดกรองอากาศประสิทธิภาพสูงหรือหนากาก PAPR  ซึ่งโรงพยาบาลไมไดออกแบบมารองรับโรคโควิด-19
          ที่พัฒนาขึ้นมานั้น มี 2 รูปแบบ รูปแบบแรกที่พัฒนาขึ้นมา ซึ่งสถานการณเมื่อครั้งโรคโควิด-19 ระบาดในประเทศไทย
          กอนประยุกตใชหมวกนิรภัยสําหรับอุตสาหกรรม มีพัดลมและ ระลอกแรกนั้น ประเทศผูผลิตอุปกรณปองกันสวนบุคคล

          ชุดกรองอากาศที่เปาลมเขาไปในหมวกเพื่อใหแรงดันในหมวก สําหรับบุคลากรทางการแพทยตางระงับการสงออกอุปกรณ
          เปนบวกเปนไปตามมาตรฐาน ซึ่งชวยปองกันอากาศจาก ดังกลาว ทําใหโรงพยาบาลในสังกัดมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
          ภายนอกเขาไปในหมวก ใชพลังงานจากแบตเตอรี่สํารองไฟ ซึ่งรองรับผูปวยโรคโควิด-19 ประสบปญหาขาดแคลนอุปกรณ
          หรือพาวเวอรแบงก (Power Bank) ซึ่งใชงานไดนาน 4 - 6  ดังกลาว โดยเฉพาะหนากากอนามัย N95 และไมสามารถ

          ชั่วโมง จากนั้นไดพัฒนาอีกรูปแบบที่ประยุกตหนากากดํานํ้า หาซื้อไดเลยในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2563 จึงตองประยุกตใช
          มาใช โดยมีหลักการทํางานคลายกัน แตกตางเพียงขนาดและ อุปกรณใกลตัว ซึ่งบุคลากรที่ใสอุปกรณปองกันตัวนี้ไมมีใคร
          ความคลองตัวในการใชงาน                             ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 เลย ทั้งที่โรงพยาบาลวชิรพยาบาล
                 การเลือกใชหนากากดํานํ้ามาพัฒนานั้น ในระหวาง รับผูปวยโรคโควิด-19 ตลอด แตไมมีบุคลากรติดเชื้อแมแต
          การพัฒนาชุด PAPR ทีมพัฒนาไดหารือกันเรื่องการพัฒนา  รายเดียว แตหลังจากนี้จะทําอยางไรใหมีความยั่งยืน ก็ตองให
          mini PAPR ที่สามารถสวมใสและถอดไดงายกวาชุด PAPR  ผูประกอบการเปนผูผลิต ซึ่งเปนหนาที่ของภาคเอกชนที่จะตอง

          แบบปกติ ทั้งนี้ ชุด PAPR ในตางประเทศจะแบงออกเปน  รับนวัตกรรมนี้ไปพัฒนาตอไป
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10