Page 6 - NRCT122
P. 6

งานวิจัยเพ� อประชาชน


            “โรคไวรัสทิลาเปยเลค”
            “โรคไวรัสทิลาเปยเลค”
            “โรคไวรัสทิลาเปยเลค” ตนเหตุโรคตายเดือนตนเหตุโรคตายเดือนตนเหตุโรคตายเดือน

              ในปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม)
              ในปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม)
              ในปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม)
              ในปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม)
              ในปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม)
              ในปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม)
              ในปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม)
                 การศึกษา “โรคไวรัสทิลาเป‚ยเลค” โรคไวรัสอุบัติใหม‹ที่เปšนึกษา “โรคไวรัสทิลาเป‚ยเลค” โรคไวรัสอุบัติใหม‹ที่เปšน
                 การศ
          สาเหตุการตายของลูกปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม) ในช‹วง
          สาเหตุการตายของลูกปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม) ในช‹วง
          หนึ่งเดือนแรก โดยพบการแพร‹ระบาดทั่วประเทศไทย ทั้งตามแม‹นํ้าหร�อ
          หนึ่งเดือนแรก โดยพบการแพร‹ระบาดทั่วประเทศไทย ทั้งตามแม‹นํ้าหร�อ
          แหล‹งนํ้าที่มีการเลี้ยงปลาอย‹างหนาแน‹น ซึ่งผลงานว�จัยนี้จะนําไปสู‹ู‹
          แหล‹งนํ้าที่มีการเลี้ยงปลาอย‹างหนาแน‹น ซึ่งผลงานว�จัยนี้จะนําไปส
          การป‡องกันและควบคุมโรคดังกล‹าวอย‹างยั่งยืน







                 ในขณะที่มนุษยกําลังตอสูกับโรคโควิด-19 ที่เกิดจาก หรือเขื่อนที่มีการเลี้ยงปลานิลอยางหนาแนน การศึกษาไวรัสชนิดนี้
          เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม ปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม)  ไดรับความสนใจทั่วโลก รวมทั้งเริ่มมีการกําหนดมาตรการเฝาระวังโรค
          ซึ่งเปนปลาที่มีการเพาะเลี้ยงมากที่สุดในประเทศไทยและมีมูลคา เพื่อลดการแพรระบาดจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน องคการ
          การเลี้ยงสูงถึงปละประมาณ 10,000 ลานบาท กําลังถูกคุกคาม อาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ องคการโรคระบาดสัตว
          ดวยไวรัสอุบัติใหมที่ชื่อวาทิลาเปยเลค (Tilapia Lake Virus) หรือ  ระหวางประเทศ เครือขายดานสัตวนํ้าของภูมิภาคเอเชียตะวันออก
          TiLV ซึ่งในชวง 10 ปที่ผานมา ปลานิลในหลายประเทศทั่วโลก เฉียงใต และกรมประมง ของประเทศไทย
          เกิดการติดเชื้อและตายเปนจํานวนมาก จากการศึกษาวิจัย        โดยหลังจากพบไวรัสชนิดนี้ในเมืองไทย ทีมนักวิจัยจึงเริ่ม
          พบวาเชื้อ TiLV เปนสาเหตุของการตายดังกลาว ปจจุบันเชื้อ TiLV  ศึกษาอยางจริงจัง และเมื่อจําแนกไวรัสไดก็ทําใหสามารถศึกษา
          มีรายงานการพบเชื้อใน 16 ประเทศจาก 4 ทวีป            วิจัยไดในหลากหลายแงมุม  เปรียบเหมือนการคนพบไวรัส
                 เชื้อไวรัส TiLV ทําใหปลานิลที่ติดเชื้อมีอัตราการตาย กอโรคโควิด-19 ซึ่งมีการศึกษาในหลาย ๆ ดาน เชน ตรวจแยกไวรัส
          ระหวาง 20 - 90% โดยมีรายงานการคนพบไวรัสดังกลาวครั้งแรก ตรวจการกลายพันธุ ศึกษารูปแบบการติดเชื้อ วิธีการแพรเชื้อ
          ที่อิสราเอลเมื่อป พ.ศ. 2557 หลังจากนั้นอีก 1 ป ทีมนักวิจัยไทย ปจจัยการกอโรค ถือเปนองคความรูที่นําไปใชได ซึ่งเมื่อทราบถึง
          นําโดย  รองศาสตราจารย นายสัตวแพทย ดร.วิน สุรเชษฐพงษ จาก การติดโรคก็นําไปสูการปองกันและลดการติดเชื้อได โดยนับจากการ
          ภาควิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุมกัน คณะสัตวแพทยศาสตร  เริ่มตีพิมพผลงานวิจัยการศึกษาเชื้อไวรัสนี้ครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2560
          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดคนพบไวรัสดังกลาวมีการแพรระบาด ปจจุบันทีมนักวิจัยไดตีพิมพผลงานวิจัยระดับนานาชาติเกี่ยวกับ
          ในแหลงนํ้าที่เลี้ยงปลานิลของไทย  โดยทีมวิจัยเริ่มตนจาก เชื้อไวรัส TiLV แลว จํานวน 22 เรื่อง
          การศึกษาปญหาโรคปลานิลตายเดือน ซึ่งเปนชื่อที่เกษตรกร      การศึกษาวิจัยโรคไวรัสทิลาเปยเลคยังไดรับรางวัล
          ใชเรียกโรคที่ปลานิลตายอยางผิดปกติ และนํามาสูการคนพบสาเหตุ การวิจัยแหงชาติ  โดยไดรับรางวัลผลงานวิจัย  ระดับดีเดน
          จากไวรัสชนิดใหมนี้                                 สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา ประจําปงบประมาณ 2564
                                       ลักษณะของปลานิลและ จากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) อยางไรก็ตาม ยังมีอีก
                               ปลานิลแดง (ปลาทับทิม) ที่ติดเชื้อ หลายประเด็นที่ทีมวิจัยตองศึกษาเกี่ยวกับเชื้อไวรัสชนิดนี้เพิ่มเติม
                                  ไวรัส TiLV จะมีลักษณะวายบริเวณ เชน ธรรมชาติของเชื้อไวรัส ขอมูลทางพันธุกรรม กลไกการทํางาน
                                   ผิวนํ้า ตาโปน ทองบวม หนาแดง ของระบบภูมิคุมกันและการทําลายเชื้อไวรัสในปลา กระบวนการ
                                     โดยไวรัสจะเขาทําลายตับและ ที่เชื้อไวรัสแพรกระจายในฝูงปลา การพัฒนาวิธีตรวจโรคในหอง
                                    อวัยวะภายในจนเสียหายอยาง ปฏิบัติการ การพัฒนาชุดทดสอบที่มีความสะดวกสําหรับตรวจ
                                    หนัก ซึ่งนักวิจัยพบวาเชื้อไวรัส คัดกรองโรคในภาคสนาม การพัฒนาวัคซีนปองกันโรค การศึกษา
                                    ที่กอโรคในปลานิลมีการแพร ผลกระทบดานสังคมและเศรษฐศาสตรที่เกิดจากเชื้อไวรัสตอ
                                   กระจายอยูตามแหลงนํ้าสําคัญ เกษตรกรที่เลี้ยงปลานิลและปลานิลแดง (ปลาทับทิม)
                                 ทั่วประเทศไทย พบมากตามแมนํ้า

                        ผูสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดขอมูลเพ�่มเติมไดที่ :   รองศาสตราจารย นายสัตวแพทย ดร.ว�น สุรเชษฐพงษ
            จาก ภาคว�ชาจ�ลชีวว�ทยาและว�ทยาภูมิคุŒมกัน คณะสัตวแพทยศาสตร มหาว�ทยาลัยเกษตรศาสตร เลขที่ 50 ถนนงามวงศวาน เขตจตุจักร
                 กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท 0 2942 8436 โทรสาร 0 2942 8436 อีเมล fvetwsp@ku.ac.th และ win.s@ku.th
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11