Page 15 - NRCT124
P. 15
กิจกรรม วช.
วช. จัดเสวนาออนไลน “โควิด-19 VA
VACCINE
กับความกลัว : กลัวโควิด กลัววัคซีน กลัวอด”
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดการเสวนาออนไลน
เรื่อง “โควิด-19 กับความกลัว : กลัวโควิด กลัววัคซีน กลัวอด”
โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
เปนประธานเปดการเสวนาออนไลน เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2564
นายแพทยเมธา อภิวัฒนากุล จากสถาบันประสาทวิทยา และมีการวิจัย
เกี่ยวกับวัคซีนใน 6 ดาน อาทิ การสราง Vaccine Passport การสื่อสาร
ขอมูลที่โปรงใส เปนตน ซึ่งจะเปนการปรับตัวพรอมเรียนรูไปพรอมกัน
โดยใหความสําคัญ ดานขอมูลขาวสารที่ถูกตอง นโยบายที่ชัดเจน
การบริหารงานดวยหลักวิชาการ และความรวมมือจากประชาชน และ
ขณะนี้กรมการแพทยไดสนับสนุนการจัดตั้งศูนยการฉีดวัคซีนสถานี
การเสวนาโควิด-19 กับความกลัว : กลัวโควิด กลัววัคซีน กลางบางซื่อ เพื่อใหครอบคลุมกลุมประชาชนผูใหบริการดานคมนาคม
กลัวอด เพื่อใหประชาชนไดเขาถึงผลงานวิจัยและนวัตกรรมและ อาทิ รถตู รถแท็กซี่ มอเตอรไซครับจาง รวมถึงพอคา แมคา โดยจะเริ่ม
คลายขอสงสัย ลดความกังวลใจ เพิ่มความเชื่อมั่นในการเขารับการ ทดสอบระบบประมาณ 5,000 คน โดยสามารถรองรับการฉีดวัคซีน
ฉีดวัคซีนที่ใชภายในประเทศ และยังรวมถึงการรับทราบผลกระทบ ไดวันละ 10,000 คน หรือ 300,000 คนตอเดือน เชื่อวาจะสามารถ
และผลขางเคียง รวมถึงแนวทางแกไขทั้งดานสังคมและเศรษฐกิจ เปนอีกหนึ่ง Outlet ในการชวยเหลือพื้นที่กรุงเทพมหานคร
จากองคความรูงานวิจัยและนวัตกรรมของประเทศอยางแทจริง ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยสุทธิพร จิตตมิตรภาพ ประธาน
ผูรวมเสวนาเปนวิทยากรที่มีประสบการณ และมีความรูในเรื่องการวิจัย คณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (กสว.)
และนวัตกรรมจากโรคโควิด-19 ประกอบดวย ศาสตราจารยกิตติคุณ นโยบายใหการสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมดานโควิด-19
นายแพทยสุทธิพร จิตตมิตรภาพ ประธานคณะกรรมการสงเสริม การวิจัยไดมีการแบงการทํางานเปนระยะตาง ๆ โดยยึดหลักการ
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (กสว.), นายแพทยสมศักดิ์ อรรฆศิลป ตาม WHO มีความพรอมดานองคความรูและนวัตกรรมที่สามารถ
อธิบดีกรมการแพทย, ศาสตราจารย นายแพทยยง ภูวรวรรณ สงเสริมและตอยอดใหกับภาครัฐและภาคเอกชนได เชน การผลิตวัคซีน
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ ดร.นณริฏ พิศลยบุตร สถาบันวิจัย ในไทยที่จะเกิดขึ้นในเร็ว ๆ นี้ โดยความรวมมือในการถายทอด
เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) โดยมี ศาสตราจารย นายแพทย องคความรูระหวางมหาวิทยาลัย Oxford และ บริษัท Astrazeneca
สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล กรรมการดําเนินงานสนับสนุนการวิจัย ซึ่งจะเปนประโยชนตอประเทศในการผลิตชีววัตถุ และสงเสริมใน
และนวัตกรรมประเด็นโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชิงธุรกิจตอไปได
วช. เปนผูดําเนินงานในการเสวนาฯ ดร.นณริฏ พิศลยบุตร สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)
การเสวนาฯ สรุปไดดังนี้ โครงการประเทศไทยในอนาคต ที่ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัย
ศาสตราจารย นายแพทยยง ภูวรวรรณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) สะทอนใหเห็นภาพการกังวลใจ
ปจจัยสําคัญในการลดการระบาดคือ การสรางภูมิคุมกัน ในอนาคตวา ฐานะทางการคลังจะมีปญหามากขึ้น การเจริญเติบโต
ดวยวัคซีน เพื่อชวยปองกันการปวยที่มีอาการรุนแรง ลดการสูญเสีย ของไทยตกลงเรื่อย ๆ ทุก ๆ 5 ป ถาเฉลี่ยดู พบวา เศรษฐกิจเคยโตถึง
ซึ่งในอนาคตจะมีวัคซีนหลาย ๆ บริษัทเขามา เราจะตองพรอมใหขอมูล 4% แตตอนนี้หลนลงมาอยูที่ 3.8% และตอนนี้ เหลือ 3.4%
ที่ถูกตอง โดยในอนาคตอาจมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการฉีดวัคซีน ซึ่งในอนาคตถาไมมีเครื่องจักรทําเงินใหม จะยิ่งตกลงเรื่อย ๆ สวนดาน
เข็มที่ 3 เพื่อหยุดยั้งการระบาดไดอยางมีสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้น การคลัง 10 ปที่ผานมา รัฐบาลหารายไดเพียง 16.28% GDP แต
การขจัดความกลัวเกี่ยวกับเรื่องวัคซีน จึงควรเปนการสื่อสารขอมูล ประเทศไทยใชจายไปถึง 18.07% GDP นั้นหมายความวาทุกป การคลัง
ขาวสารที่ถูกตอง ของประเทศไทยจะติดลบประมาณ 1.79% GDP และนี้ก็เปนการ
นายแพทยสมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมแพทย สะทอนวาในอนาคตประเทศไทยจะมีหนี้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉลี่ย
ความกาวหนาแนวทางการแกไขการเกิด VITT หรือภาวะ ในระยะยาว
เกร็ดเลือดตํ่า โดยการใช IVIG หลังการฉีดวัคซีน ซึ่งไดรับการอนุมัติ การเสวนาในครั้งนี้ วช. จะรวบรวมเอาองคความรูตาง ๆ
แนวทางจาก สปสช. แลว อีกทั้งมีการเฝาระวังและติดตามสถานการณ ไปเปนขอมูลเชิงประจักษ โดยนํามาออกแบบเปนนโยบายหรือมาตรการ
ที่ไมพึงประสงค รวมถึงผลขางเคียงเกี่ยวกับระบบประสาท รวมกับ ใหเปนรูปธรรมชัดเจนยิ่งขึ้น
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 15