Page 14 - NRCT124
P. 14

กิจกรรม วช.














         วช. สถาบันสิ่งแวดลอมไทย สพภ. มก. และ Moreloop


         รวมพลังขับเคลื่อนไทยดวย BCG Model



              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
       วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พรอมดวยสถาบันสิ่งแวดลอมไทย
       สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ  (องคการมหาชน)
       ศูนยสรางสรรคงานออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
       และ Moreloop พรอมดวยประชาคมนักวิจัย รวมพลังเสนอทิศทาง
       การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทย ดวย BCG Model เพื่อนําไปสูการพัฒนา และกรรมการ  BCG  ไดกลาวถึงประเด็นทิศทางการขับเคลื่อน
       ที่เกิดประโยชนตอประเทศอยางยั่งยืน โดยเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2564  การพัฒนาประเทศไทยดวย BCG Model และเศรษฐกิจสีเขียว

       ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ รวมเปด (Green Economy) ดร.ธนิต ชังถาวร รองผูอํานวยการสํานักงาน
       การเสวนา “รวมพลังประชาคมวิจัยขับเคลื่อนไทยดวย BCG Model”  พัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องคการมหาชน) ไดกลาวถึงประเด็น
       ผานระบบการประชุมทางไกลออนไลน (Zoom Cloud Meetings)   ทิศทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยดวยเศรษฐกิจชีวภาพ
              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในบทบาทการบริหาร (Bioeconomy) รองศาสตราจารย ดร.สิงห อินทรชูโต หัวหนาศูนย
       จัดการทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อตอบโจทยทาทายของสังคม  สรางสรรคงานออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
       โดยในประเด็นทาทายดานทรัพยากร สิ่งแวดลอม และการเกษตร  ไดกลาวถึงประเด็นทิศทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยดวย
       ไดรับงบประมาณจากกองทุน ววน. (ทุนวิจัยดานวิทยาศาสตร วิจัย  เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) คุณอมรพล หุวะนันทน
       และนวัตกรรม) เพื่อขับเคลื่อนการวิจัยและนวัตกรรมในการจัดการ ผูรวมกอตั้ง Moreloop สตารทอัพประเทศไทย ไดกลาวถึงประเด็น
       กับปญหาเรงดวนสําคัญของประเทศในดานทรัพยากรธรรมชาติ ทิศทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยดวย BCG Model ในภาค

       และสิ่งแวดลอม การเกษตร และเพื่อบรรลุเปาหมายการพัฒนา ของธุรกิจ และคุณพิพัฒน วิทยาปญญานนท สถาปนิกและพิธีกร
       ที่ยั่งยืนดวยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนตนทุนสําคัญ รายการวิทยาศาสตรเทคโนโลยี เปนผูดําเนินการเสวนาฯ และทั้งหมด
       ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การใชโมเดลเศรษฐกิจใหม ไดรวมกันสรุปมุมมองการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศดวยโมเดล
       ที่เรียกวา “BCG Model” ซึ่งเปนการพัฒนา 3 เศรษฐกิจ คือ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ  BCG  สูแนวคิดการรวมมือแบบ
       ชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)  บูรณาการและการปฏิบัติจริง ซึ่งการวิจัยและ
       และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ไปพรอม ๆ กัน เพื่อใหเกิด นวัตกรรมจะเปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อน
       การขับเคลื่อนประเทศไทยอยางเปนรูปธรรม ทั้งนี้ BCG Model มีความ การพัฒนาประเทศ  โดยการเสริมจุดแข็ง

       สอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และสอดรับกับ ของการมีฐานทรัพยากรจากความหลากหลาย
       หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (SEP) ซึ่งเปนหลักสําคัญ ทางชีวภาพที่สูง เรงกระบวนการทํางาน
       ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และเปนไปตาม ของภาคสวนตาง ๆ เพื่อมุงสูการเพิ่ม
       ยุทธศาสตรของกระทรวง อว. ที่ไดกําหนดยุทธศาสตรการขับเคลื่อน  ประสิทธิภาพการผลิต ยกระดับ
       การพัฒนาประเทศไทย ดวยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564 -  มาตรฐานสินคาและบริการสู
       2569 ที่มีเปาหมายใหเศรษฐกิจเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน  ผลิตภัณฑมูลคาสูง ลดการใช
       ประชาชนมีรายไดดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี รักษาและฟนฟูฐานทรัพยากร ทรัพยากร และหมุนเวียนการใช
       และความหลากหลายทางชีวภาพใหมใหมีคุณภาพที่ดีขึ้น ดวยการใช ทรัพยากร เพื่อสรางการเติบโต
       องคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรม                      ทางเศรษฐกิจที่เปนมิตรตอ

                                                              สิ่งแวดลอม  “สูการพัฒนา
              โดยในการเสวนาครั้งนี้ มีผูทรงคุณวุฒิเขารวมในการเสวนาฯ
       ไดแก ดร.วิจารย สิมาฉายา ผูอํานวยการ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย   ประเทศอยางยั่งยืน”
       ไดแก ดร.วิจารย สิมาฉายา ผูอํานวยการ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16