Page 9 - NRCT124
P. 9

ในการลดปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจนดังกลาว จากการศึกษาความ การผลิตเปนของตนเอง สรางงาน สรางรายไดใหกับประชากร
         สัมพันธระหวางโครงสรางของตัวเรงปฏิกิริยาดวยเทคนิคขั้นสูงกับ เพิ่มสภาพคลองทางเศรษฐกิจใหกับประเทศ และชวยแกไขปญหา
         ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนกาซ CO  เปนโอเลฟนส ทําใหผูวิจัย ดานสิ่งแวดลอมของโลกไปพรอมกัน
                                     2
         สามารถพัฒนาตัวเรงปฏิกิริยาที่ใหรอยละผลไดของโอเลฟนส    โดยกาซ CO  นั้น เกิดจากกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษย
                                                                               2
         สูงถึง 21 ซึ่งเปนคาที่สูงที่สุดเทาที่เคยมีการรายงานมา ปจจุบัน หากประชากรเพิ่มมากขึ้น การพัฒนาเศรษฐกิจเติบโตขึ้น กาซ CO
                                                                                                               2
         คณะผูวิจัยยังคงพัฒนาตัวเรงปฏิกิริยาที่มีประสิทธิภาพสําหรับ จะยังถูกปลอยสูบรรยากาศในปริมาณที่สูงขึ้น ในทางกลับกัน
         เปลี่ยนกาซ CO  ใหเปนโอเลฟนสอยางตอเนื่อง โดยมีเปาหมาย พลาสติกก็ยังคงมีบทบาทสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษยใน
                      2
         ที่จะเพิ่มผลผลิตโอเลฟนสใหสูงขึ้นกวาเดิม  และมุงหวังวา หลาย ๆ ดาน ดังนั้น ในสภาวะที่มนุษยยังไมสามารถละทิ้งการใช
         องคความรูที่ไดจะถูกถายทอดและนําไปใชประโยชนอยางเปน พลาสติกไดอยางเต็มรูปแบบ คงตองตระหนักถึงปญหาสิ่งแวดลอม
         รูปธรรม เกิดโรงงานผลิตโอเลฟนสจากกาซ CO  ที่มีเทคโนโลยี ที่เกิดขึ้นกับโลกดวย จึงควรใหความสําคัญกับการจัดการขยะ
                                               2
                                                             อยางเปนระบบ รวมถึงการใหความสําคัญกับการรีไซเคิลกาซ CO
                                                                                                               2
                                                             กลับมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมตาง ๆ
                                                             แมวากาซ CO  จะเปนสารตั้งตนที่มีตนทุนที่ตํ่ามาก แตราคาที่สูง
                                                                        2
                                                             ของกาซไฮโดรเจนเปนขอจํากัดสําคัญอยางหนึ่งของกระบวนการ
                                                             ผลิตในแงของความคุมคาทางเศรษฐศาสตร ซึ่งตองอาศัยความ
                                                             รวมมือและการสนับสนุนจากหลายภาคสวน ทั้งการบังคับใช
                                                             กฎหมายของรัฐในการควบคุมราคาซื้อขายไฮโดรเจนใหถูกลง
                                                             รวมถึงการเรียกเก็บภาษีการปลอยกาซ CO  ที่สูงขึ้น ซึ่งจะนําความ
                                                                                              2
                                                             เชื่อมั่นมาสูภาคเอกชนในการสนับสนุนอุตสาหกรรมตอไป
                                                                     นักวิจัยที่ไดรับรางวัลการวิจัยแหงชาติ  จะไดรับ

                                                             ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติและเงินรางวัล จากสํานักงานการวิจัย
                                                             แหงชาติ (วช.) ในงานวันนักประดิษฐ ประจําป 2564 ณ ศูนย
                                                             นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร


                           ผูสนใจสามารถสอบรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมไดที่ : รองศาสตราจารย ดร.ธงไทย วิฑูรย ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
                     คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เลขที่ 50 ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
                 อีเมล fengttwi@ku.ac.th เฟซบุก (Facebook Fanpage) Thongthai Ong Witoon หรือที่ลิงก https://www.facebook.com/onglovely.wi/













         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14