Page 8 - NRCT124
P. 8

งานวิจัยเพ� อประชาชน


                           งานวิจัย เปลี่ยนกาซ CO เปนสารเคมีมูลคาเพิ่ม
                           งานวิจัย เปลี่ยนกาซ CO
                           งานวิจัย เปลี่ยนกาซ CO
                                                          2
           เพื่อชวยลดการเกิดภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ





























                สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
                สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย(วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย
         และนวัตกรรม (อว.) มอบรางวัลการวิจัยแหงชาติ ประจําป 2564 สาขาวิศวกรรมศาสตร
         และอุตสาหกรรมวิจัย ระดับดีมาก ใหแก รองศาสตราจารย ดร.ธงไทย วิฑูรย และคณะ
         แหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซึ่งศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาตัวเรงปฏิกิริยา
         สําหรับเปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซด ใหเปนสารเคมีมูลคาเพิ่ม เพื่อชวยลดการเกิด
         ภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ พรอมทั้งสรางเสถียรภาพ
         ดานวัตถุดิบ เพื่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมปโตรเคมีในประเทศไทย

                                                             อุปกรณทางการแพทย เปนตน โดยทั่วไปการผลิตโอเลฟนส
                                                             ตองพึ่งพาวัตถุดิบจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ไดแก นํ้ามัน ถานหิน หรือ
                                                             กาซธรรมชาติ ซึ่งเปนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และมีแนวโนม
                                                             ลดลงอยางตอเนื่อง จากปจจัยดังกลาวที่สงผลกระทบโดยตรงตอ
                                                             เสถียรภาพและความมั่นคงของกระบวนการผลิตโอเลฟนส ดังนั้น
                                                             การมองหาแหลงวัตถุดิบอื่นเพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขัน

                                                             จึงเปนประเด็นสําคัญที่กลุมธุรกิจใหความสนใจ ซึ่งสอดคลอง
                                                             กับโจทยวิจัยของคณะผูวิจัยที่มีเปาหมายในการนํากาซ CO  มาใช
                                                                                                          2
                 คณะผูวิจัย นําโดย รองศาสตราจารย ดร.ธงไทย วิฑูรย  ประโยชนอยางเปนรูปธรรม
          คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ดําเนินงานวิจัย   เนื่องจากกาซ CO  เปนโมเลกุลที่มีความเสถียร ดังนั้น
                                                                                   2
          โดยมีแนวคิดในการแปรรูปกาซคารบอนไดออกไซด หรือกาซ CO จึงมีความจําเปนตองใชตัวเรงปฏิกิริยาที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อ
                                                           2
          ที่เปนเพียงกาซเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม เปลี่ยนกาซ CO  ใหเปนโอเลฟนสไดอยางจําเพาะเจาะจง และได
                                                                          2
          ใหเปนสารเคมีมูลคาเพิ่มหลายชนิด ไดแก เมทานอล ไดเมทิลอีเทอร  รอยละผลไดของโอเลฟนสสูงคุมคาตอการผลิตในระดับ
          และโอเลฟนส แทนกระบวนการดักจับและกักเก็บกาซ CO อุตสาหกรรม หัวใจหลักสําคัญของการออกแบบตัวเรงปฏิกิริยา
                                                           2
          ที่มีตนทุนสูง โดยเฉพาะการพัฒนาตัวเรงปฏิกิริยาโลหะออกไซดผสม ที่ใชสําหรับเปลี่ยนกาซ CO  ใหเปนโอเลฟนส คือการควบคุม
                                                                                    2
          สําหรับเปลี่ยนกาซ CO  ใหเปนโอเลฟนสที่สามารถตอยอดและ ความสามารถในการเติมไฮโดรเจนบนอะตอมคารบอนของตัวเรง
                            2
          เพิ่มมูลคาเปนผลิตภัณฑตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย โอเลฟนส  ปฏิกิริยาไมใหสูงเกินไป เพื่อชวยลดการเกิดผลิตภัณฑกลุม
          ไดแก เอทิลีนและโพรพิลีน เปนวัตถุดิบตั้งตนสําคัญในการผลิต พาราฟนสหรือไฮโดรคารบอนพันธะเดี่ยวซึ่งเปนผลิตภัณฑที่ไม
          เม็ดพลาสติกจําพวกพอลิเอทิลีนและพอลิโพรพิลีน ที่ใชผลิต ตองการ โดยองคประกอบหลักของตัวเรงปฏิกิริยาตองประกอบ
          เครื่องอุปโภคในชีวิตประจําวัน อาทิ บรรจุภัณฑ ชิ้นสวนรถยนต  ดวยธาตุหมูทรานซิชันและโลหะอัลคาไลนซึ่งมีคุณสมบัติโดดเดน

                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13