Page 5 - NRCT124
P. 5
ผลจากการศึกษาวิจัยทําใหสามารถพัฒนานวัตกรรม
ผลิตภัณฑเสริมอาหารเพื่อสุขภาพไดสําเร็จ และยังพบอีกวา
ในขาวสีสายพันธุไทยมีสารสําคัญที่ชวยกระตุนการเจริญเติบโต
ของจุลินทรียโพรไบโอติกคือ สาร Xylo - oligosaccharides
การตอยอดจากผลิตภัณฑขาวไทยเสริมโพรไบโอติก ที่เคย หรือ ไซโล - โอลิโกแซ็กคาไรด ซึ่งสาร Xylo - oligosaccharides
ไดรับรางวัลมาแลวในหลากหลายเวที ซึ่งเดิมผลิตภัณฑ ดังกลาวมีคุณสมบัติเปนสารพรีไบโอติก ซึ่งสงผลดีตอสุขภาพ
ดังกลาวอยูในรูปผลิตภัณฑแบบแหง ถูกหอหุมดวยเปลือก ของมนุษย ดวยเหตุนี้จึงมีการพัฒนาผลิตภัณฑโดยใช
แคปซูลแข็ง รูปแบบการบริโภคจึงไมแตกตางจากผลิตภัณฑ ขาวสีสายพันธุไทยเปนองคประกอบหลัก รวมกับจุลินทรีย
เสริมอาหารในทองตลาดทั่วไป โพรไบโอติก และพัฒนานวัตกรรมใหอยูในรูปแบบที่สามารถ
ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม เริ่มจากการคนควา พกพาไดงาย สะดวกตอการบริโภค เพื่อสงเสริมสุขภาพ
และวิจัยทางดานวิทยาศาสตรหลากหลายการทดลอง เพื่อพิสูจน รวมถึงสรางอัตลักษณใหแกตัวผลิตภัณฑอีกดวย
คุณสมบัติ รวมถึงหาองคประกอบที่ลงตัวและเปนไปตาม สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) มีนโยบายสงเสริม
ขอกําหนดดานผลิตภัณฑที่เกี่ยวของกับโพรไบโอติกของ สนับสนุนนักประดิษฐและนักวิจัยไทย ใหเขารวมการประกวด
กระทรวงสาธารณสุข เพื่อใหผลิตภัณฑสามารถใชไดจริงและ ในเวทีนานาชาติ โดยเมื่อวันที่ 15 - 17 เมษายน 2564
ถูกตองตามกฎหมายของไทย สําหรับขั้นตอนการทดลองการผลิต สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดสนับสนุน 7 หนวยงาน
ผลิตภัณฑมีดังนี้ ใหเขารวมประกวดและนําเสนอผลงานในรูปแบบออนไลน
1. คัดแยกจุลินทรียโพรไบโอติกระดับสารพันธุกรรม ในงาน “The 5 China (Shanghai) International
th
2. ตรวจสอบคุณสมบัติของจุลินทรียโพรไบโอติก Invention & Innovation Expo” ณ นครเซี่ยงไฮ สาธารณรัฐ
ทุกประการ ประชาชนจีน โดยในป 2564 นี้ มีผลงานจากทั่วโลกเขารวม
3. ตรวจสอบคุณสมบัติการเกาะติดกับขาวไทย ประกวด จํานวนกวา 1,000 ผลงาน จาก 21 ประเทศ
4. พัฒนาผลิตภัณฑ และเปนที่นายินดีที่นักประดิษฐและนักวิจัยไทยสามารถ
5. ตรวจสอบคุณภาพหลังการผลิต ควารางวัลตาง ๆ ประกอบดวย รางวัลเหรียญทอง จํานวน
6. ตรวจสอบการรอดชีวิตของจุลินทรียโพรไบโอติก 5 รางวัล รางวัลเหรียญเงิน จํานวน 3 รางวัล และรางวัล
7. วิเคราะหคุณคาทางโภชนาการ เหรียญทองแดง จํานวน 2 รางวัล
ผูสนใจสามารถสอบรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมไดที่ : ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศรัณย พรหมสาย อาจารยภาควิชาจุลชีววิทยา คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน เลขที่ 1 หมู 6 ตําบลกําแพงแสน อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140
โทรศัพท 08 1960 8475 อีเมล saranpromsai@hotmail.com หรือทางเว็บไซต https://micro.flas.kps.ku.ac.th
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 5