Page 7 - NRCT124
P. 7

งานวิจัยเพ� อประชาชน


              เครื่องคงสภาพรําขาวดวยระบบอินฟราเรด
              เครื่องคงสภาพรําขาวดวยระบบอินฟราเรด
              เครื่องคงสภาพรําขาวดวยระบบอินฟราเรด
              เครื่องคงสภาพรําขาวดวยระบบอินฟราเรด
              รวมกับถังไซโคลนเพิ่มมูลคารําขาวใหกับวิสาหกิจชุมชน
























                                                              ชีววิทยา ใหแก ผูชวยศาสตราจารยขนิษฐา รุตรัตนมงคล และคณะ
                                                              แหงคณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                                                              มหาวิทยาลัยนเรศวร
                นักวิจัย คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและักวิจัย คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและักวิจัย คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและักวิจัย คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและ
                  น น น                                              ผลจากการศึกษาวิจัยพบวา ปญหาหลักของการผลิต
         สิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร คิดคนเครื่องคงสภาพรําขาว  นํ้ามันรําขาวบีบเย็นในระดับวิสาหกิจชุมชน ไดแก คุณภาพของ
         ดวยระบบอินฟราเรดรวมกับถังไซโคลนสําหรับวิสาหกิจชุมชนและ  รําขาวลดลงอยางรวดเร็วเนื่องจากการทํางานของเอนไซมไลเพส
         โรงสีขาวขนาดเล็ก เปนผลสําเร็จชวยใหผูบริโภคอาหารเพื่อ  สงผลทําใหเกิดกรดไขมันอิสระและทําใหคาความเปนกรดของ
         สุขภาพ ที่บริโภคขาวเปนอาหาร อุดมสมบูรณดวยวิตามิน เอ ดี   นํ้ามันเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ซึ่งเครื่องตนแบบจะชวยยืดอายุหรือ
         และเค จนไดรับรางวัลการวิจัยแหงชาติ ระดับดี ในป พ.ศ. 2564 นี้  คงสภาพรําขาวเพื่อแกปญหาการเสื่อมคุณภาพของรําขาวภายหลัง
                                                              กระบวนการขัดสีไดเร็วและมีประสิทธิภาพที่สุด โดยการใชเทคนิค
                                                              การใหความรอนแบบอินฟราเรดรวมกับระบบถังไซโคลนแบบ
                                                              ตอเนื่อง โดยเริ่มจากการทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการคงสภาพ
                                                              รําขาวดวยเครื่องใหความรอนแบบอินฟราเรดขนาดจําลองในหอง
                                                              ปฏิบัติการที่เปนระบบการผลิตแบบกะ เพื่อนําผลการศึกษาที่ไดมา
                                                              เปนแนวทางในการพัฒนาเครื่องคงสภาพรําขาวตนแบบที่มีกําลัง
                                                              การผลิตอยางนอย 100 กิโลกรัมตอวัน จากการทดลองพบวา
                                                              สภาวะการคงสภาพรําขาวที่กําลังวัตตสูงสุด 9,000 วัตต และ
                                                              ระยะเวลานานที่สุด 4.21 นาที (ความเร็วรอบเทากับ 10 Hz)
                                                              ทําใหคา FFA ของรําขาวลดลงตํ่าที่สุดเทากับ 1.97% และ 3.67%
                                                              ที่อายุการเก็บ 4 สัปดาห ที่อุณหภูมิการเก็บ 30 และ 40 องศาเซลเซียส
                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  ตามลําดับ ซึ่งอยูในระดับตํ่ากวาเกณฑที่แนะนํา (รอยละ 5) และ
         วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เห็นถึงประโยชนของเครื่อง พบวาที่สภาวะดังกลาวไมสงผลกระทบตอปริมาณสารสําคัญตาง ๆ
         คงสภาพรําขาวดวยระบบอินฟราเรดรวมกับถังไซโคลนสําหรับ ในรําขาว โดยที่คาความชื้นและคาวอเตอรแอคทีวิตี้ (Water Activity)
         วิสาหกิจชุมชนและโรงสีขาวขนาดเล็ก ที่สามารถนําไปชวยเพิ่ม มีคาตํ่ากวา 0.6 สงผลใหปริมาณเชื้อจุลินทรียในตัวอยางมีคาอยูภายใต
         มูลคาใหกับรําขาวและสามารถนําไปตอยอดใชงานไดจริงกับ เกณฑมาตรฐาน CODEX ซึ่งชวยเพิ่มมูลคาเพิ่มใหกับรําขาว
         ผูประกอบการระดับวิสาหกิจชุมชนและโรงสีขาวขนาดเล็กใน ในกิจการวิสาหกิจชุมชน โดยในอนาคตเครื่องดังกลาวจะนําไป
         อนาคตได จึงไดมอบรางวัลการวิจัยแหงชาติ : รางวัลผลงาน ทดลองใชในพื้นที่เขตภาคเหนือตอนลาง อาทิ จังหวัดกําแพงเพชร
         ประดิษฐคิดคน ประจําป 2564 ระดับดี สาขาเกษตรศาสตรและ เปนตน

             ผูสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดขอมูลเพิ่มเติมไดที่ : ผูŒช‹วยศาสตราจารยขนิษฐา รุตรัตนมงคล คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ
                         และสิ่งแวดลŒอม มหาวิทยาลัยนเรศวร เลขที่ 99 หมู‹ที่ 9 ตําบลท‹าโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
                             โทรศัพท 08 1852 5994, 0 5596 2735 โทรสาร 0 5596 2703 อีเมล khanittar@nu.ac.th
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12