Page 14 - NRCT125
P. 14

กิจกรรม วช.

          Future Thailand
          Future Thailand
          Future Thailand
          Future Thailand
          Future Thailand สูอนาคตที่สรางได ดวยการวิจัยและนวัตกรรม
                                                               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
                                                             วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดการเสวนาออนไลน เรื่อง
                                                           “ผลสําเร็จจากการวิจัยและนวัตกรรมเพื่ออนาคตประเทศไทย : Future
                                                         Thailand” เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2564 เพื่อนําเสนอผลการวิจัยและสรŒางการ
                                                       รับรูŒผลสําเร็จจากการวิจัยเกี่ยวกับประเทศไทยในอนาคต รวมถึงนําเสนอขŒอเสนอแนะ
                                                     เชิงนโยบาย ในมิติที่เกี่ยวขŒองสู‹สาธารณชนในมุมที่น‹าสนใจ และเพื่อเปšนเวทีพบปะ
                                                   แลกเปลี่ยนทัศนะและขŒอคิดเห็น เกี่ยวกับทิศทางอนาคตประเทศไทย ระหว‹างผูŒมีส‹วนไดŒ
                                                 ส‹วนเสียในเชิงวิชาการ อันนําไปสู‹แนวคิดที่เปšนประโยชนต‹อหน‹วยงานต‹าง ๆ และประเทศ
                                               ผ‹านการเสวนาโดยวิทยากรผูŒทรงคุณวุฒิจากหน‹วยงานที่เกี่ยวขŒอง โดยมี ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง
                                             ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ เปšนประธานเปดการเสวนาออนไลน





























                 โครงการประเทศไทยในอนาคต หรือ Future Thailand   นวัตกรรมที่เกี่ยวของกับงานที่จะนําไปทํามาตรการหรือที่จะนํา
          มีความสําคัญอยางยิ่งตอการวางแผนเพื่อกําหนดแนวทาง  ไปเปนกลไกตาง ๆ สําหรับประเทศและภาคประชาชน

          การพัฒนา รวมทั้งการตั้งรับกับสถานการณตาง ๆ ดังนั้นจึงเปน  โดย วช. และทีมนักวิจัยจากโครงการ Future Thailand
          ที่มาของการศึกษาวิจัยเพื่อทําฉากทัศนและภาพของประเทศไทย   รวมกันฉายภาพผลจากการวิจัย ในกรอบการศึกษา 10 มิติสําคัญ
          โดยกําหนดทุกชวง 5 ป ในอีก 20 ปขางหนา มุงเนนใน 10 มิติ  คือ มิติที่ 1 ประชากรและโครงสรางสังคม มิติที่ 2 สังคม ชนบท
          สําคัญ ซึ่ง วช. ไดวางกรอบการวิจัยเพื่อตอบโจทยการจัดทําแผน  ทองถิ่น มิติที่ 3 การศึกษาไทย มิติที่ 4 สิ่งแวดลอมและพลังงาน
          พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ของสํานักงานสภาพัฒนาการ  มิติที่ 5 เศรษฐกิจ ผูประกอบการและอุตสาหกรรม มิติที่ 6
          เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวมกับหนวยงานและสถาบันวิจัย  มิติเศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจโลก เกษตรกรรมและการบริการ
          ของประเทศ 8 แหง ไดแก 1) สถาบันวิจัยประชากรและสังคม   มิติที่ 7 วัฒนธรรมและภาษาไทย (อัตลักษณความเปนไทย)
          มหาวิทยาลัยมหิดล 2) สถาบันพระปกเกลา 3) สถาบันวิจัย  มิติที่ 8 การเมือง มิติที่ 9 บริบทโลก ปจจัยคุกคามและความมั่นคง
          เพื่อการพัฒนาประเทศไทย 4) สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ   ของประเทศ และ มิติที่ 10 คนไทย 4.0

          5) ราชบัณฑิตยสภา 6) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร           ขณะนี้ วช. เตรียมนําเสนอผลจากการวิจัย ตอสภา
          7) มูลนิธิคลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม และ 8) สถาบันศึกษา  พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เพื่อใชเปนชุดขอมูล
          นโยบายสาธารณะ ในการวางหลักการเพื่อใชชุดขอมูลจากเรื่อง  สําคัญในการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
          การวิจัยและนวัตกรรม มาชวยฉายภาพอนาคตของประเทศไทย   ฉบับที่ 13 รวมถึงเปนขอมูลเชิงประจักษใหกับหนวยงาน
          ในมิติตาง ๆ คาดหวังวา สวนของการทํางานจะมีการนําชุดขอมูล  ที่รับผิดชอบเรื่องกรอบนโยบายระดับประเทศ เพื่อใชขอมูล
          ที่สําคัญมาใชเพื่อสรางประโยชนในการพัฒนานโยบายระดับ  ในการออกแบบเชิงนโยบาย หรือมาตรการ ลดความเสี่ยง และ
          ประเทศ และเพื่อที่จะสามารถออกแบบกระบวนการ รวมถึง    วางอนาคตไดอยางทันทวงทีและเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น


                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16