Page 16 - NRCT126
P. 16
กิจกรรม วช.
การสราง “วิศวกรสังคม” ตามพระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวด็จพระเจาอยูหัวด็จพระเจาอยูหัว
การสราง “วิศวกรสังคม” ตามพระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเ
การสราง “วิศวกรสังคม” ตามพระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเ
เปนประธานในพิธีลงนามฯ พรอมดวย ผูชวยศาสตราจารย
ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุงเรือง เลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม และ ศาสตราจารย
ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ใหเกียรติเขารวมในพิธีฯ
การลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือดังกลาว ลงนาม
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ และ
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดพิธีลงนามบันทึกขอตกลง ผูบริหารของมหาวิทยาลัยราชภัฏ 11 แหง โดยรวมกันลงนามบันทึก
ความรวมมือ “วิศวกรสังคมสรางชุมชนเขมแข็งดวยวิจัยและนวัตกรรม” ขอตกลงความรวมมือวิศวกรสังคมสรางชุมชนเขมแข็งดวยวิจัยและ
รวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ 11 แหง เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2564 นวัตกรรม ผานระบบออนไลน (ระบบ Zoom)
เพื่อแสดงเจตนารมณในความรวมมือ เพื่อขับเคลื่อนโครงการบมเพาะ การลงนามความรวมมือ “วิศวกรสังคมสรางชุมชนเขมแข็ง
และเพิ่มศักยภาพการพัฒนาเชิงพื้นที่ดวยกระบวนการวิศวกรสังคม ดวยวิจัยและนวัตกรรม” ในครั้งนี้ ถือเปนการสนับสนุนทุนวิจัยใหแก
สงเสริมการบูรณาการเชื่อมโยงรวมกับสถาบันการศึกษา หนวยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 11 แหง โดย วช. จะมอบใหแหงละ 750,000 บาท
ผูผลิตองคความรูการวิจัย หนวยงานภาคปฏิบัติที่ทําหนาที่สงตอ โดยการดูแลของกระทรวง อว.
องคความรู และกลุมเปาหมายในการนําองคความรูจากการวิจัย โดยการลงนามความรวมมือดังกลาว จะทําใหวิศวกรสังคม
ไปใชประโยชนไดจริงในพื้นที่ ตามพระบรมราโชบายดานการศึกษา เปนกําลังหลักในการทําหนาที่ขับเคลื่อนชุมชนดวยกระบวนการพัฒนา
ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่วาการศึกษาตองสรางคนไทยที่มี นวัตกรรมใหสอดคลองกับความตองการของประเทศไดในอนาคต อีกทั้ง
ทัศนคติที่ดี สรางพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เขมแข็ง เปนพลเมืองดี มีวินัย ยังสอดคลองกับความเปนไทยในบริบทโลก บนแนวคิดการสรางปญญา
จะเกิดเปนรูปธรรมขึ้นไดภายใตโครงการนี้ โดยมี พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ เพื่อพัฒนาชุมชนทองถิ่นอยางยั่งยืนสืบไป นอกจากนี้ ยังไดเตรียม
องคมนตรี และ ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรี ขยายผลรูปแบบการพัฒนานี้ไปยังมหาวิทยาลัยราชภัฏ และสถาบัน
วาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม การศึกษาอื่น ๆ ตอไปอีกดวย
วช. มอบนวัตกรรมหอง ICU ความดันลบเคลื่อนที่
พรอมชุดอุปกรณทางการแพทย ใหแกโรงพยาบาลและสถานพยาบาล
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดใหทุนสนับสนุนการวิจัยเพื่อให
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดใหทุนสนับสนุนการวิจัยเพื่อให(วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดใหทุนสนับสนุนการวิจัยเพื่อให(วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดใหทุนสนับสนุนการวิจัยเพื่อให
นําไปทําการวิจัยนวัตกรรมที่นําไปใชประโยชนตอประเทศชาติในการรับมือกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโรคโควิด-19
ไดอยางทันทวงที ทันตอสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด-19 ที่กําลังเกิดขึ้นอยูในขณะนี้ ซึ่งผลสําเร็จของงานวิจัยที่ วช. ไดใหการ
สนับสนุนนั้นมีหลากหลายนวัตกรรม อาทิ หอง ICU ความดันลบเคลื่อนที่, ชุดหนากากปองกันเชื้อโรคแบบคลุมศีรษะ พรอมชุดกรองอากาศ
ประสิทธิภาพสูง (PAPR) และเครื่องฟอกอากาศแบบผลิตออกซิเจน บวก - ลบ เปนตน ซึ่งเปนความภาคภูมิใจที่นวัตกรรมดังกลาวคิดคนและ
ผลิตโดยนักวิจัยไทย ทําใหนวัตกรรมของคนไทยมีตนทุนการผลิตและราคาถูกกวาการนําเขานวัตกรรมจากตางประเทศหลายเทาตัว ในขณะที่
คุณภาพและมาตรฐานเทาเทียมกัน อีกทั้ง วช. ยังไดนํานวัตกรรมทางการแพทยดังกลาวมอบใหแก โรงพยาบาลและสถานพยาบาล
เพื่อรับมือกับการแพรระบาดของโรคโควิด-19 ดังนี้
การมอบ “หอง ICU ความดันลบเคลื่อนที่” การมอบ “ชุดหนากากปองกันเชื้อโรคแบบคลุมศีรษะ พรอมชุดกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (PAPR)”
มอบแก กระทรวงสาธารณสุข
เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2564
มอบแก โรงพยาบาลบุษราคัม เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2564
การมอบ “เครื่องฟอกอากาศแบบผลิตออกซิเจน บวก - ลบ”
มอบแก โรงพยาบาล มอบแก โรงพยาบาล มอบแก สถานพยาบาล และ
อานันทมหิดล เมื่อวันที่ อุมผาง และโรงพยาบาล โรงพยาบาลสนามใน 11 อําเภอ
มอบแก กระทรวง อว. เพื่อสงตอใหแกโรงพยาบาลและ 4 สิงหาคม 2564 อื่น ๆ ในจังหวัดตาก เมื่อวันที่ ของจังหวัดกําแพงเพชร เมื่อ
สถานพยาบาลตอไป เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2564 10 สิงหาคม 2564 วันที่ 20 สิงหาคม 2564
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
16 National Research Council of Thailand (NRCT)