Page 10 - จดหมายข่าว วช 132
P. 10

งานวิจัย : สิ่งแวดลอม










                    การพัฒนาศักยภาพการผลิตพลังงานจากธุรกิจเหมืองบอขยะ


                เพื่อพัฒนาความคุมคาในการลงทุนธุรกิจพลังงานจากเหมืองบอขยะ


                 ในแต‹ละป‚สังคมไทยสรŒางขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายมากกว‹า
                 ในแต‹ละป‚สังคมไทยสรŒางขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายมากกว‹า  และเมื่อนํามาคํานวณดวยสมการที่คิดขึ้นมาจะทําใหทราบวากองขยะและเมื่อนํามาคํานวณดวยสมการที่คิดขึ้นมาจะทําใหทราบวากองขยะ
          27.93 ลŒานตันต‹อป‚ ประเมินกันว‹ามีเพียงรŒอยละ 26 หรือประมาณ 10.85 ลŒานตัน  แตละแหงมีปริมาณ RDF อยูเทาไร และจากขอมูลทั้งคาความชื้น
          ที่ถูกกําจัดอย‹างถูกตŒองตามหลักวิชาการโดยมีบางส‹วนถูกนําไปแปรรูป คาความรอน คาสภาพตานทานไฟฟาฯ ที่ไดจากการสํารวจเปนหมื่น ๆ จุด
          นํากลับมาใชŒใหม‹ ส‹วนที่เหลือส‹วนใหญ‹ไม‹ไดŒรับการจัดการอย‹างถูกวิธี หรือ จากกองขยะแตละแหง สามารถนํามาขึ้นรูปเปนรูปตัดที่สามารถระบุ
          ถูกทิ้งกองเปšนขยะมูลฝอยตกคŒางซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกป‚ ทําใหŒเกิดป˜ญหา พิกัดไดวาแตละจุดมีปริมาณขยะพลาสติกอยูเทาไร พื้นที่ตรงไหนมีนอย
          ต‹าง ๆ ตามมามากมาย เช‹น ไฟไหมŒบ‹อขยะ ป˜ญหาเรื่องกลิ่น สรŒางผลกระทบ พื้นที่ตรงไหนมีมากพอที่จะลงทุนขุดรื้อรอนได ดังนั้น ขอมูลที่ไดมา
          ต‹อสุขภาพของประชาชน ในขณะที่พื้นที่จะใชŒในการฝ˜งกลบขยะกลับหายาก จึงสามารถบอกไดทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพวาในบอขยะแตละแหง
          มากยิ่งขึ้นเพราะถูกต‹อตŒานจากชุมชน ดังนั้น ขยะมูลฝอยจึงเปšนป˜ญหาที่ มีความคุมคาตอการลงทุนในการขุดรื้อรอนขยะพลาสติกเพื่อนํามาขาย
          ส‹งผลกระทบต‹อสิ่งแวดลŒอมและสังคมที่ตŒองการการแกŒไขอย‹างเร‹งด‹วน   เปนเชื้อเพลิงขยะหรือไม ลักษณะทางกายภาพของบอขยะแตละแหง
                 โดยในชวงสิบกวาปที่ผานมา แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ เปนอยางไร มีศักยภาพในการขุดรื้อรอนขยะอยางไร บางแหงอาจจะ
          ขยะมูลฝอยไดเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งขยะมูลฝอยถูกมองวาสามารถนํา เหมาะสมสําหรับการขุดรื้อรอนเพื่อนําขยะพลาสติกไปขายเปนเชื้อเพลิง
          กลับมาใชประโยชนไดใหม และสามารถเพิ่มรายไดใหกับประชาชนและ ขยะ แตบอขยะบางแหงลักษณะทางกายภาพไมเหมาะสมสําหรับการ
          องคกรปกครองสวนทองถิ่นได “เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)” ขุดรอนรื้อขยะ แตเหมาะสมสําหรับการรวบรวมกาซขยะ (Landfill Gas,
          จึงเปนทางออกที่ดีที่สุด ในการหมุนเวียนนําทรัพยากรกลับมาใชใหมเพื่อ LFG) ขึ้นมาเพื่อใชประโยชนดานพลังงาน โดยพบวา บอขยะหลาย ๆ แหง
          ลดปริมาณขยะ เพื่อใหเกิดการจัดการขยะมูลฝอยอยางยั่งยืน สํานักงาน ก็มีปริมาณกาซขยะมากพอที่จะทําโรงไฟฟาขนาดเล็กได ดังนั้น ขอมูล
          การวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ และแนวทางการดําเนินงานที่ไดจากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ สามารถ
          นวัตกรรม (อว.) จึงไดสนับสนุนทุนวิจัยโครงการ “การพัฒนาศักยภาพ นําไปใชเปนแนวทางในการสํารวจบอขยะทั้งที่เปนบอขยะแบบเทกอง
          การผลิตพลังงานจากธุรกิจเหมืองบอขยะ” แกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี กลางแจง (Open Dump) และบอที่มีการฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล
          พระจอมเกลาธนบุรี โดยมี ผูชวยศาสตราจารย ดร.คมศิลป วังยาว บัณฑิต (Sanitary Landfill) เพื่อประเมินศักยภาพของบอขยะแตละแหง
          วิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ทั้งในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพ ตลอดจนความคุมคาในการลงทุน
          พระจอมเกลาธนบุรี เปนหัวหนาโครงการ                เพื่อพัฒนาการผลิตพลังงานจากธุรกิจเหมืองบอขยะ เพื่อเปนแนวทางในการ
                 ผูชวยศาสตราจารย ดร.คมศิลป วังยาว ไดขอสรุปวา ในกอง ตัดสินใจใหกับผูประกอบการ และเปนแนวทางในการพิจารณาสําหรับ
          ขยะมูลฝอยที่ถูกนํามาฝงกลบจะมีทั้งสวนที่สามารถยอยสลายไดและ องคกรปกครองสวนทองถิ่นในการพัฒนาและบริหารจัดการพื้นที่ตอไป
          ยอยสลายไมได เมื่อเวลาผานไประยะหนึ่ง สวนที่ยอยสลายได (เศษอาหาร   ผลจากการศึกษาวิจัยทําใหไดขอมูลเพื่อพิจารณาถึงความ
          และอินทรียสารตาง ๆ) ที่มีประมาณรอยละ 50 จะถูกยอยสลาย คุมคาในการลงทุนทําธุรกิจพลังงานจากเหมืองบอขยะ ดังนี้ 1) บอขยะ
          กลายเปนวัสดุคลายดิน ซึ่งสามารถคัดแยกแลวนําไปใชทดแทนดินเพื่อ ที่มีอยูในประเทศไทยที่มีศักยภาพในการทําธุรกิจมีเยอะมาก เพราะ
          ปดกลบทับขยะได ผลจากการยอยสลายขยะสวนที่ยอยสลายได จะเกิดเปน สวนมากเปนบอขนาดใหญ 2) เนื่องจากบอขยะที่สํารวจวิจัยมีทั้งบอ
          กาซมีเทนและกาซคารบอนไดออกไซด และสําหรับขยะมูลฝอยที่ถูก ที่เปนแบบเกา ทั้งแบบเทกองกลางแจง และบอที่มีการฝงกลบอยาง
          ฝงกลบอีกประมาณรอยละ 50 เปนขยะที่ยอยสลายไมได มักเปนถุงพลาสติก ถูกหลักสุขาภิบาล แตละแบบมีศักยภาพในการทําธุรกิจไดทั้งหมด
          ชนิดตาง ๆ ซึ่งวัสดุเหลานี้ภาคเอกชนสนใจที่จะมาลงทุนขุดรื้อรอนเพื่อ ไมไดขึ้นกับระยะเวลาในการฝงกลบ เพียงแตกอนเริ่มทําเราตองสํารวจ
          นําไปขายเปนเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF) “โครงการ พื้นที่กอนทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ 3) ปริมาณขยะพลาสติกที่สามารถ
          พัฒนาศักยภาพการผลิตพลังงานจากธุรกิจเหมืองบอขยะ” จึงไดพัฒนา นํามาทําเปนเชื้อเพลิงขยะควรมีปริมาณอยางตํ่า 200,000 - 300,000 ตัน
          แนวทางการประเมิน RDF ที่สามารถรื้อรอนได โดยใชเทคนิคการตรวจวัด 4) ระยะทางระหวางบอขยะไปถึงลูกคาปลายทางที่ใชเชื้อเพลิงขยะ
          แบบผสมผสาน ประกอบดวย การประยุกตใชเทคโนโลยีดานธรณีฟสิกส ไมควรเกิน 400 กิโลเมตร 5) บอที่มีความเหมาะสมในการรวบรวมกาซขยะ
          ในการประเมินองคประกอบขยะ การตรวจวัดคาความรอนจากผิว ควรเปนบอขยะที่มีอายุการฝงกลบมาแลว 3 - 5 ป เพราะขยะยังมีการ
          กองขยะดวยกลองถายภาพความรอนติดตั้งบน UAV และการตรวจวัด ยอยสลายอยู ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับระบบการระบายนํ้าชะมูลฝอยในบอขยะวา
          การปลดปลอยกาซมีเทนดวย Laser Methane Detector เพื่อประเมิน ดีมากนอยเพียงไร ซึ่งการสํารวจดวยเทคโนโลยีดานธรณีฟสิกสก็สามารถ
          สภาพการยอยสลายของขยะ รวมถึงการนําเทคนิคการสรางแผนที่ ใหคําตอบได
          ความละเอียดสูงดวยภาพถายที่ไดจาก UAV มาใชประเมินปริมาตร  ซึ่งแนวทางการสํารวจเพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตพลังงาน
          ของขยะ ดวยการใชเทคโนโลยีแบบผสมผสานทําใหไดขอมูลศักยภาพ จากธุรกิจเหมืองบอขยะในครั้งนี้ ทําใหทราบความคุมคาและความ
          การพัฒนาโครงการลงทุนที่มีความแมนยําสูง สามารถนําไปประกอบ เปนไปไดตอการลงทุนในธุรกิจพลังงานจากเหมืองบอขยะ อีกทั้งยังเปน
          การตัดสินใจวากองขยะที่ถูกฝงกลบมีความคุมคาตอการลงทุนเพื่อผลิต แนวทางในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
          เปนพลังงานหรือไม ผลจากการสํารวจทําใหไดขอมูลมาจํานวนหนึ่ง  อีกดวย
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         10                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15