Page 14 - จดหมายข่าว วช 132
P. 14
กิจกรรม วช.
วช. รวมประชุม Public Policy Forum
เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2565 ดร.วิภารัตน ดีออง
ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดเขารวม
การประชุม Public Policy Forum ประเด็น “อนาคต
ประเทศไทยใน 10 มิติ” ในหัวขอ “อนาคตประเทศไทย
ในมิติเศรษฐกิจ ผูประกอบการ และอุตสาหกรรม
เกษตรกรรม และบริการ : ประเด็นเพื่อพิจารณา
สําหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ”
ครั้งที่ 4 ซึ่งประเด็นดังกลาวเปน 1 ในมิติสําคัญภายใต
โครงการประเทศไทยในอนาคต หรือ Future Thailand
ซึ่งประกอบดวยโครงการวิจัยยอยทั้ง 10 มิติที่ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) หลุดพนจากกับดักรายไดปานกลางได นอกจากนี้ กลไกที่มีความ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดใหทุน สําคัญอยางยิ่งที่ควรมุงเนนก็คือการพัฒนาทักษะแรงงานที่มุงเนน
สนับสนุนการวิจัยเชิงนโยบายแกสถาบันคลังสมองของชาติเพื่อขับเคลื่อน ดานเทคโนโลยีที่สามารถตอบสนองความตองการของผูประกอบการ
ใหผลงานวิจัยถูกนําไปใชประโยชนเปนขอมูลเชิงนโยบายประกอบการ และการสงเสริมใหมีการนําเทคโนโลยีเขามาชวยดําเนินธุรกิจ
พิจารณาจัดทํารางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 เพราะการใชเทคโนโลยีจะชวยสงเสริมใหภาคธุรกิจสามารถเติบโต
สําหรับมิติอนาคตประเทศไทยในมิติเศรษฐกิจ ผูประกอบการ ไดอยางเข็มแข็ง และชวยลดปญหาการขาดแคลนแรงงานในภาวะ
และอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และบริการเปนการดําเนินการวิจัยโดยมี ที่ประเทศไทยกลายเปนสังคมสูงวัย
วัตถุประสงคเพื่อหาแนวทางในการขับเคลื่อนทิศทางทางเศรษฐกิจของ โดย วช. มุงหวังวาการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมใน
ประเทศไทยในการกําหนดนโยบายเพื่อนําไปใชในการขับเคลื่อนผูมีสวนได ลักษณะของโครงการประเทศไทยในอนาคต มุงเนนการวิจัยเพื่อใหได
สวนเสียโดยเฉพาะในภาคสวนของผูประกอบการในภาคอุตสาหกรรม ผลสําเร็จเปนการฉายภาพอนาคตในมิติเศรษฐกิจ ผูประกอบการ และ
ภาคเกษตร และภาคบริการ โดยการขับเคลื่อนตองอาศัยแรงขับเคลื่อน อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และบริการ จะสามารถนําผลการวิจัย
สําคัญ 5 ดาน ไดแก ดานสังคม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และ ไปประยุกตใช เพื่อสรางนวัตกรรมวิจัย นโยบายสาธารณะ และนโยบาย
การเมือง เพื่อใหสามารถนําไปสูการสรางรูปแบบการดําเนินธุรกิจของ ทางสังคม รวมถึงขับเคลื่อน และผลักดันใหเกิดการใชประโยชนกับ
ผูประกอบการที่มีกําลังขับเคลื่อนและสามารถกําหนดอนาคตของ ประเทศและประชาชน และเตรียมความพรอมในการรับมือกับความ
เศรษฐกิจและการคลัง รวมถึงสามารถผลักดันใหประเทศไทยสามารถ เปลี่ยนแปลงใหม ๆ ที่จะเกิดขึ้นตอไป
การประชุมระดับนานาชาติ “การมุงสูการจัดการนํ้า
และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอยางยั่งยืนหลังโควิด-19
(THA 2022 International Conference on Moving Towards a Sustainable Water
and Climate Change Management After COVID-19)”
on Moving Towards a Sustainable Water and Climate
Change Management After COVID-19)” ระหวางวันที่ 26 - 28
มกราคม 2565 ผานระบบการประชุมทางไกลออนไลน (Zoom Cloud
Meetings) เพื่อสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการนํ้าและ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอยางยั่งยืนหลังโควิด-19 และเพื่อ
สนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาของโลกใหบรรลุตามเปาหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ที่กําหนด
โดยองคการสหประชาชาติ (United Nations: UN) อีกทั้ง ยังเปนการ
เปดโอกาสการเผยแพรผลงานวิจัย สําหรับนักวิจัย นักวิทยาศาสตร
ผูปฏิบัติงาน และผูกําหนดนโยบายในสาขาที่เกี่ยวของจากนานาชาติ
ใหรวมแบงปนและนําเสนอมุมมอง ประสบการณ ความกาวหนาในงานวิจัย
โดยมีการนําเสนอผลงานผานระบบออนไลนใน 4 รูปแบบ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา ไดแก 1) การอภิปรายรวมกันของผูเชี่ยวชาญและนักวิชาการจาก
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดการประชุมระดับนานาชาติ นานาประเทศ (Panel Discussion) 2) การนําเสนอผลงานดานเทคนิค
เรื่อง “การมุงสูการจัดการนํ้าและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (TechnicalPresentation) 3) การแสดงนิทรรศการเสมือน (Virtual
อยางยั่งยืนหลังโควิด-19 (THA 2022 International Conference Exhibition) และ 4) การจัดอบรมดานเทคนิค (Technical Training)
โดยผูสนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวไดที่เว็บไซต : www.tha2022.org Facebook Fanpage : THA International Conference
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
14 National Research Council of Thailand (NRCT)