Page 3 - จดหมายข่าว วช 132
P. 3

งานวิจัย : ศิลปวัฒนธรรม






















          “พิพิธภัณฑมีชีวิตขุนยวมสู‹การพัฒนาที่ยั่งยืน” จังหวัดแมฮองสอน
























                 พิพิธภัณฑมีชีวิตขุนยวมสูการพัฒนาที่ยั่งยืน เปน
          โครงการที่สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ใหการสนับสนุน
          นักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยแมโจ และ

          มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ดําเนินการเปนโครงการที่สราง
          กลไกความยั่งยืนในการนําองคความรูจากงานวิจัยและ
          นวัตกรรม มายกระดับคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของชุมชน

          ในทองถิ่นที่จะตอบโจทยการพัฒนาดวยการวิจัยและนวัตกรรม
          ในการหมุนเวียนนําผลิตภัณฑในชุมชนมาชวยเสริมและ สถาบันการศึกษา วัด โรงเรียน และชุมชน ในการสงเสริม
          สรางรายไดใหกับประชาชน รวมถึงการที่ชุมชนมีสังคมและ การอนุรักษวัฒนธรรม การดําเนินชีวิต และเศรษฐกิจชุมชน
          สิ่งแวดลอมที่ดีบนพื้นฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจ ลดความ ที่เกิดจากกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนและภาค
          เหลื่อมลํ้าในสังคม ผานการบูรณาการความรวมมือกับทองถิ่น  ประชาสังคม จะนําไปสูกระบวนการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ

          เพื่อใหคณะผูวิจัย และชุมชนไดเขาถึงงานวิจัยและนวัตกรรม  มีชีวิตขุนยวมไดอยางยั่งยืนตลอดไป
          และสามารถนําไปใชไดจริง เชื่อมโยงพัฒนาการประกอบอาชีพ      สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
          และวิถีชีวิตความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น โดยเห็นวา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดใหการสนับสนุน

          อําเภอขุนยวม อุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ มีการ ทุนวิจัยแก ดร.สราวุธ รูปน อาจารยประจําภาควิชาศิลปะไทย
          พัฒนาประวัติศาสตร ภูมิทัศนทางวัฒนธรรมและศิลปะพื้นบาน คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม หัวหนาโครงการวิจัย
          ที่มีอัตลักษณบนความหลากหลายทางวัฒนธรรม เปนพื้นที่ เรื่อง “การบริหารจัดการพิพิธภัณฑมีชีวิตขุนยวมสูการพัฒนา
          ที่เหมาะสมแกการพิทักษรักษามรดกทางวัฒนธรรม สามารถ ที่ยั่งยืน” ตอเนื่องเปนปที่ 2 โดยนักวิจัยไดสรุปการทําวิจัย
          พัฒนาสูการเรียนรูและการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ที่จะ เรื่องขุนยวมพิพิธภัณฑมีชีวิต ครอบคลุมทั้งประวัติชุมชน

          ชวยเสริมใหจังหวัดแมฮองสอน เปนดินแดนตะวันตกสูเขต ภูมิทัศนวัฒนธรรม สถาปตยกรรม ศิลปกรรม หัตถกรรม ศิลปะ
          ภาคเหนือและอาณาบริเวณใกลเคียง ดวยความรวมมือระหวาง พื้นบาน ประเพณี พิธีกรรม และการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)                                                   (อานตอหนา 4)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         3
   1   2   3   4   5   6   7   8