Page 13 - จดหมายข่าว วช 138
P. 13

กิจกรรม วช.



                                   กอ.รมน. - วช. ร‹วมกับ มมส. เดินหนŒาถ‹ายทอดองคความรูŒจากผลงานวิจัยและ

                                         นวัตกรรม พรŒอมส‹งมอบนวัตกรรมสูŒภัยแลŒงที่อําเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย









                กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) รวมกับ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
        วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.) จัดพิธีสงมอบนวัตกรรมและตรวจเยี่ยมการดําเนินโครงการ “การบริหารจัดการภัยแลงพื้นที่
        เกษตรกรรมจังหวัดบุรีรัมยดวยวิจัยและนวัตกรรมอยางยั่งยืน” เพื่อนําองคความรูจากการวิจัยและนวัตกรรมมาใชประโยชนทางการเกษตร โดยมี พลโท อุดม
        โกษากุล ผูอํานวยการศูนยประสานการปฏิบัติที่ 1 กอ.รมน. และ ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธานในพิธีสงมอบฯ และ
        พันเอก โอภาส จันทรอุดม รองผูอํานวยการ กอ.รมน. จังหวัดบุรีรัมย ผูแทนผูวาราชการจังหวัดบุรีรัมย กลาวตอนรับ พรอมดวย ศาสตราจารย ดร.อนงคฤทธิ์
        แข็งแรง รองอธิการบดีฝายพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน วิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หัวหนาโครงการฯ กลาวรายงาน ซึ่งในพิธีไดรับเกียรติ
        จาก ผูทรงคุณวุฒิ วช. หัวหนาหนวยงานราชการในทองถิ่น ผูนําชุมชน เกษตรกร และสื่อมวลชน เขารวมงาน เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2565 ณ ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจ
        พอเพียงทุงเมืองทอง ตําบลชุมแสง อําเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย
                สําหรับพิธีสงมอบนวัตกรรมในครั้งนี้ มีสมาชิกหมูบานและเกษตรกรที่เขารวมโครงการฯ ในพื้นที่ตําบลชุมแสงเขารวมงานกวา 200 คน โดยผลงาน
        นวัตกรรมที่ กอ.รมน. รวมกับ วช. และ มมส. นํามาสงมอบในครั้งนี้ ประกอบดวย 4 กิจกรรม 12 นวัตกรรม ไดแก กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมการพัฒนานวัตกรรม
        บริหารจัดการนํ้าเพื่อการเกษตร ประกอบดวย ระบบการจัดสรรนํ้าตามศักยภาพนํ้าตนทุน จํานวน 1 ชุดขอมูล, ชุดขอมูลการบริหารจัดการนํ้าเพื่อการเกษตร
        จํานวน 1 ชุดขอมูล, ชุดระบบสูบนํ้าดวยพลังงานเเสงอาทิตยเเบบเคลื่อนยายไดเพื่อการเกษตร จํานวน 3 ชุด, ชุดนวัตกรรมสูบนํ้าและกระจายนํ้าพลังงานแสงอาทิตย
        จํานวน 3 ชุด และชุดนวัตกรรมหนวยเก็บกักนํ้ายอยและกระจายนํ้าและสูบและจายนํ้าพลังงานแสงอาทิตยแบบเคลื่อนที่ จํานวน 3 ชุด กิจกรรมที่ 2 :
        การพัฒนานวัตกรรมในการยกระดับการผลิตขาวหอมมะลิคุณภาพสูง ประกอบดวย ชุดระบบอบแหงดวยรังสีอินฟราเรดเเบบถังหมุนชนิดเคลื่อนยายได
        ระบบไฮบริด จํานวน 1 ชุด และชุดนวัตกรรมแปรรูปเพื่อเพิ่มคุณภาพขาวเปลือกและเมล็ดพันธุ 1 ชุด กิจกรรมที่ 3 : การพัฒนานวัตกรรมเกษตรแบบผสมผสาน
        เพื่อแกปญหาความยากจนดวยระบบสมารทฟารม ประกอบดวย นวัตกรรมเกษตรแบบผสมผสาน จํานวน 1 ชุด และกิจกรรมที่ 4 : การสงเสริมนวัตกรรมชุมชน
        พึ่งตนเองและใชประโยชนจากปาชุมชน ประกอบดวย ชุดระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยชุมชนพึ่งตนเอง จํานวน 1 ชุด, ชุดเตาเผาชีวมวล จํานวน 1 ชุด,
        ชุดเครื่องผลิตนํ้าสมควันไม จํานวน 1 ชุด และชุดผลิตปุยจากผลิตภัณฑเหลือทิ้งจากปาชุมชน จํานวน 1 ชุด โดยมี พันเอก โอภาส จันทรอุดม รองผูอํานวยการ
        กอ.รมน. จังหวัดบุรีรัมย ผูแทนผูวาราชการจังหวัดบุรีรัมย เปนผูรับมอบนวัตกรรมฯ และไดสงมอบนวัตกรรมดังกลาวตอใหแกตัวแทนของพื้นที่ 3 หมูบาน
        ของตําบลชุมแสง ไดแก บานตามา บานสุขวัฒนา และบานสุขสําราญ เพื่อใหพื้นที่ทั้ง 3 หมูบานที่กลาวมา นําองคความรูและนวัตกรรมมาประยุกตใช
        ในการแกปญหาภัยแลง กอใหเกิดการบริหารจัดการแหลงนํ้าเพื่อใชประโยชนทางการเกษตรใหไดมากที่สุด ซึ่งทําการแกปญหาจากตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า
        เพื่อทําใหชีวิตความเปนอยูของเกษตรกรและประชาชนมีความเปนอยูที่ดีขึ้นไดอยางยั่งยืน


                   วช. ร‹วมกับ จุฬาฯ จัดเวทีที่ 3 ระดมความเห็นวางแผน

                    รับมือสถานการณนํ้าท‹วม นํ้าแลŒง จังหวัดลพบุรี



               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
        จัดเวทีระดมความคิดเห็นจากกลุมผูใชนํ้าเปนเวทีที่ 3 ภาคกลาง ตอเนื่องจากภาคเหนือ ที่จังหวัดนาน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
        ที่จังหวัดขอนแกน เพื่อวางแผนบริหารจัดการนํ้าทวม นํ้าแลง และกระบวนการจัดเก็บขอมูลแบบมีสวนรวมผานระบบแอปพลิเคชัน ดําเนินโครงการโดย จุฬาลงกรณ
        มหาวิทยาลัย “โครงการแนวทางการพัฒนากลุมผูใชนํ้าระดับชุมชนในการวางแผนการบริหารจัดการนํ้าระดับพื้นที่แบบมีสวนรวม” โดย นายชิษนุวัฒน มณีศรีขํา
        เปนหัวหนาโครงการวิจัยฯ เพื่อใหเกิดแนวทางการจัดตั้งและพัฒนาองคกรผูใชนํ้าใหมีความสามารถในการบริหารจัดการนํ้าในระดับพื้นที่อยางเปนรูปธรรม
        33 ตําบล ใน 5 ภูมิภาค ครอบคลุม 15 จังหวัด สรุปและประมวลการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดย รองศาสตราจารย ดร.เจษฎา แกวกัลยา ผูทรงคุณวุฒิใน
                          คณะอนุกรรมการดานบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า คณะกรรมการทรัพยากรนํ้าแหงชาติ (กนช.) รองศาสตราจารย ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ
                            ประธานแผนงานวิจัยเข็มมุงดานบริหารจัดการนํ้า สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) และนายธนวัฒน สิงหวนาวงศ ผูอํานวยการ
                             กลุมติดตามและประเมินผลโครงการ สํานักงานทรัพยากรนํ้าแหงชาติ (สทนช.) โดยมี นางสาวอภิสรา เกษอินทร นายอําเภอ
                               ทาหลวง จังหวัดลพบุรี กลาวตอนรับ เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2565 ณ องคการบริหารสวนตําบลหนองผักแวน และองคการ
                                บริหารสวนตําบลซับจําปา อําเภอทาหลวง จังหวัดลพบุรี พรอมดวยผูทรงคุณวุฒิ ผูนําชุมชนแตละตําบล และมีสื่อมวลชน
                                  เขารวมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูและระดมความเห็นในประเด็นดังกลาวดวย
                                          หลังจากเสร็จจากเวทีระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรูฯ แลว วช. ไดนําคณะสื่อมวลชน เขารวมทําขาว
                                     เพื่อใหสื่อมวลชนชวยเปนสื่อกลางในการเผยแพรองคความรูจากการวิจัยในโครงการธนาคารนํ้าใตดินฯ ในครั้งนี้
                                     ตอสาธารณชน ซึ่งมีสื่อมวลชนเขารวมทําขาวประมาณ 20 คน ณ โครงการธนาคารนํ้าใตดินฯ อําเภอทาหลวง จังหวัด
                                     ลพบุรี เพื่อใหเกิดการขยายผล เกษตรกรสามารถทําการเกษตรไดตลอดทั้งป และมีนํ้าใชตลอดเวลา เกิดการเพิ่ม
                                   ของเศรษฐกิจชุมชนจากการบริหารจัดการนํ้าในครั้งนี้ นําไปสูการขยายผลและใชประโยชนในพื้นที่อื่น ๆ ตอไป
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16