Page 16 - จดหมายข่าว วช 142
P. 16

กิจกรรม วช.












            วช. รวมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แหง ยกระดับศักยภาพการทองเที่ยว


             โดยชุมชนเชิงวัฒนธรรมสรางคุณคาอัตลักษณพื้นถิ่นบนเศรษฐกิจ BCG


              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร  แบงพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทุกภูมิภาคในประเทศ ทําหนาที่ในการนําความรู
              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร  แบงพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทุกภูมิภาคในประเทศ ทําหนาที่ในการนําความรู
       วิจัยและนวัตกรรม รวมกับ เครือขายวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ เพื่อสรางการพัฒนาที่ยั่งยืน เชื่อมโยงเปนเครือขายเชิงพื้นที่ พัฒนาและยกระดับ
       ทั้ง 38 แหง มีสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เปนแกนนํา คุณภาพของผลิตภัณฑทางการทองเที่ยวโดยชุมชน ในแผนงานการยกระดับ
       จัดกิจกรรมนําเสนอและเผยแพรผลงานวิจัย ภายใตโครงการยกระดับศักยภาพ ศักยภาพการทองเที่ยวโดยชุมชนเชิงสรางสรรคเพื่อพัฒนาพื้นที่บนฐานอัตลักษณ
       การทองเที่ยวโดยชุมชนเชิงวัฒนธรรม เพื่อสรางคุณคา อัตลักษณพื้นถิ่นดวย ทองถิ่น ปที่ 1 และ 2 พัฒนาโปรแกรมการทองเที่ยว ของฝาก ของที่ระลึก
       ภูมิปญญาและนวัตกรรมบนฐานเศรษฐกิจ BCG โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง  กิจกรรมทางการทองเที่ยวโดยชุมชน รวมทั้งการพัฒนาเสริมสรางศักยภาพของ
       ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธานในพิธี พรอมกันนี้มี ผูชวย ชุมชนในการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน และชองทางการสื่อสารการตลาด
       ศาสตราจารย ดร.อดิศร เนาวนนท อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา  เพื่อทําใหเกิดรายไดทางเศรษฐกิจในระดับชุมชน ในพื้นที่ 48 ชุมชน มุงเนน
       และนักวิจัยจากเครือขายมหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แหง รวมขับเคลื่อนกิจกรรม  การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑการทองเที่ยวโดยชุมชนใหไดรับมาตรฐาน
       เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2565 ณ หองประชุมแคทรียา โรงแรมรามาการเดนส  เปนที่ยอมรับในประเภทตาง ๆ ขับเคลื่อนตอเนื่องในปที่ 3 ผานโครงการยกระดับ
       ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร              การทองเที่ยวโดยชุมชนเชิงนวัตกรรมเพื่อสรางคุณคาอัตลักษณพื้นถิ่นดวยภูมิปญญา
              กิจกรรมการนําเสนอและเผยแพรผลงานวิจัย เครือขายมหาวิทยาลัย และนวัตกรรมบนฐานเศรษฐกิจ BCG คัดเลือกมา 7 พื้นที่ 7 ผลิตภัณฑ เพื่อพัฒนา
       ราชภัฏ 38 แหง ไดดําเนินการขับเคลื่อนตอเนื่องเปนปที่ 3 ภายใตเแผนงานวิจัย  ใหเปนโมเดลตนแบบตลอดหวงโซการพัฒนา ยกระดับกลุมวิสาหกิจชุมชนสู
       เรื่อง “การยกระดับศักยภาพการทองเที่ยวโดยชุมชนเชิงนวัตกรรมเพื่อสราง การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนเพื่อสังคม CBT-SE ผลิตภัณฑสามารถขายไดจริง
       คุณคาอัตลักษณพื้นถิ่นดวยภูมิปญญาและนวัตกรรมบนฐานเศรษฐกิจ BCG”  ใหกับกลุมผูซื้อ/นักทองเที่ยวคุณภาพ สรางความชัดเจนในอัตลักษณบนศักยภาพ
       ซึ่งในการนําเสนอและเผยแพรผลงานวิจัยในครั้งนี้ เปนการขับเคลื่อนเครือขาย มหาวิทยาลัยราชภัฏ และเชื่อมโยงภารกิจความรับผิดชอบรวมกับหนวยงานภาคี
       นักวิจัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่ดานการทองเที่ยวโดยชุมชนเครือขายสถาบันวิจัย ทั้งภายในและภายนอกอยางมีพลวัตบนฐานอัตลักษณชุมชนในบริบทที่แตกตางกัน
       และพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยมีเปาหมายยุทธศาสตรและพันธกิจเดียวกัน  ของแตละภูมิภาค บนฐานเศรษฐกิจ BCG ตอบโจทยการพัฒนาที่ยั่งยืน

          วช. รวมกับ มธ. และไทยพีบีเอส จัดกิจกรรมผลิตสื่อ TikTok

       เพื่อใหเยาวชนรูเทาทันขาวปลอมทางการเมือง ในสื่อสังคมออนไลน


              ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ และ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อดิพล
       เอื้อจรัสพันธุ ผูชวยอธิการบดีฝายบริหารทาพระจันทร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนประธานกลาวเปดกิจกรรม
       การผลิตสื่อ TikTok รูเทาทันขาวปลอมทางการเมืองในสื่อสังคมออนไลน ภายใตโครงการ “การเมือง
       เยาวชนรวมสมัยกับการสรางเครือขายการมีสวนรวมทางการเมืองรูเทาทันขาวปลอม” จัดโดย มหาวิทยาลัย
       ธรรมศาสตร ทาพระจันทร และ สถานีโทรทัศนไทยพีบีเอส ภายใตการสนับสนุนจากสํานักงานการวิจัย
       แหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2565 ณ สถานีโทรทัศน
       ไทยพีบีเอส (Thai PBS) ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
              ภายในงานมีการกลาวปาฐกถา เรื่อง “เยาวชนกับการสรางสรรคสื่อเพื่อนําไปสูการเปลี่ยนแปลงของสังคม”
       โดย รองศาสตราจารย ดร.วิลาสินี พิพิธกุล ผูอํานวยการ ส.ส.ท. (ไทยพีบีเอส) และ กิจกรรม Talk : TikTok ปงปง
       เพื่อสังคม โดย คุณธรรมชาติ โยธาจุล TikToker ชื่อดัง ที่มาเลาถึงกลวิธีการทํา TikTok อยางไรใหมีคนดูเปนลานวิว
              นอกจากนี้ ยังมีการนําเสนอผลงาน TikTok ภายใตแนวความคิด “เยาวชน การเมือง ขาวปลอม”
       โดยเยาวชน 18 ทีม จาก 13 มหาวิทยาลัย ชิงรางวัล 5 ประเภทรางวัล ไดแก รางวัลขอมูลเชิงลึกหรือมีประโยชน
       (Exclusive Content) รางวัลความคิดสรางสรรคยอดเยี่ยม (Creative Content Specialist) รางวัลการตัดตอ
       หรือเทคนิคการนําเสนอยอดเยี่ยม (Unique Editor) รางวัลการใชภาษาที่สรางสรรคไมกอใหเกิดการสรางอคติและ
       ความเกลียดชัง (Excellent Word) และรางวัลที่เนื้อหาสรางรอยยิ้ม เสียงหัวเราะใหกับคนดู (Smiling World)
       โดยมี คุณฐปณีย เอียดศรีไชย จาก The Reporters คุณกนกพร ประสิทธิ์ผล จาก Thai PBS คุณธนกร วงษปญญา
       จาก The Standard และคุณขจร เจียรนัยพานิชย จาก The Zero Publishing รวมตัดสินและวิพากษผลงาน TikTok
       ของเยาวชนเพื่อหาผูสรางสรรค TikToker รุนใหมที่ตอสูกับขาวปลอมทางการเมือง
       ของเยาวชนเพื่อหาผูสรางสรรค TikToker รุนใหมที่ตอสูกับขาวปลอมทางการเมือง
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16