Page 15 - จดหมายข่าว วช 153
P. 15

ความรวมมือกับตางประเทศ

                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                          วช. และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน
                                 จัดการสัมมนายุทธศาสตร
                                 จัดการสัมมนายุทธศาสตร
                                 จัดการสัมมนายุทธศาสตร
                                 จัดการสัมมนายุทธศาสตร
                                 จัดการสัมมนายุทธศาสตรไทย – จีน ครั้งที่ 12ไทย – จีน ครั้งที่ 12ไทย – จีน ครั้งที่ 12ไทย – จีน ครั้งที่ 12ไทย – จีน ครั้งที่ 12















               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ
               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ
                           สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ
               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ
               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ
        ร‹วมกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียว (Huaqiao University) แห‹งสาธารณรัฐประชาชนจีน พรŒอมดŒวย สมาคม
        วัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย - จีน และสมาคมจีนเพื่อการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใตŒ (China
        Society for Southeast Asian Studies) จัดการสัมมนาวิจัยยุทธศาสตรไทย - จีน ครั้งที่ 12”
        (The 12  Thai – Chinese Strategic Research Seminar) ภายใตŒหัวขŒอเรื่อง “ร‹วมสรŒางประชาคม
              th
        จีน - ไทยที่มีอนาคตร‹วมกันในยุคใหม‹ (Jointly Building a China - Thailand Community with a
        Shared Future in the New Era)” ระหว‹างวันที่ 26 - 27 พฤศจิกายน 2566 ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว
        เมืองเซี่ยเหมิน มณฑลฝูเจี้ยน สาธารณรัฐประชาชนจีน
                  ในพิธีเปดการสัมมนา ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ และ Professor Xu Xipeng เลขาธิการคณะกรรมการ
        พรรคคอมมิวนิสต แหงมหาวิทยาลัยหัวเฉียว พรอมดวย ดร.ณรงคศักดิ์ บุณยมาลิก กรรมการบริหารสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย - จีน
        รวมกลาวสุนทรพจนในการกลาวเปดการสัมมนา พรอมนี้ ในการปาฐกถาพิเศษ ไดรับเกียรติจาก Keynote speaker 3 ทานไดแก Prof.Yu Hongjun
        อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงตางประเทศจีน และอดีตเอกอัครราชทูตจีนประจําอุซเบกิสถาน ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ยุทธศาสตรอินโดแปซิฟก
        การพัฒนาและความรวมมือของภูมิภาค” ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยสุทธิพร จิตตมิตรภาพ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ
        และประธานกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “One Road One Destination” และ Prof. Fang Ning
        อดีตผูอํานวยการสถาบันวิจัยรัฐศาสตร สถาบันบัณฑิตสังคมศาสตร (CASS) ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ความหวังใหมของความทันสมัยของจีน”
                  สําหรับในป 2566 นี้ ฝายจีนไดเปนเจาภาพจัดสัมมนา ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยการสัมมนา
        ประกอบดวยการบรรยายและการนําเสนอผลงานวิจัย ภายใตหัวขอยอย ไดแก 1) ประสบการณการบริหารประเทศ และการขจัดความยากจน
                                                                                                   th
        (Poverty Reduction and Development Governance) 2) หนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง ในโอกาสครบรอบ 10 ป (The 10  Anniversary of
        the B&R Initiative and China-Thailand Cooperation) 3) การแลกเปลี่ยนทางการคา การลงทุน และการทองเที่ยวไทย - จีน หลังโควิด-19
        (Trade, Investment and Tourism in the Post-COVID-19 Era) และ 4) จีนไทยศึกษาและการเชื่อมตอระหวางประชาชน (China - Thailand
        Studies and People-to-People Exchange)
               การสัมมนาครั้งนี้ มีจุดมุงหมายในการพัฒนาความรูและความเขาใจ เกี่ยวกับบทบาทระหวางจีนกับไทย ในการดําเนินการในประเด็นสําคัญ
        ดานการวิจัยอยางบูรณาการ ตลอดจนพัฒนาการกําหนดเปนนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัย ไทย – จีน อันจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดรวมกัน
        ของทั้งสองประเทศ

















        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
        National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16