Page 15 - จดหมายข่าว วช 160
P. 15

ความรวมมือกับตางประเทศ


            วช. รวมกับ AASSREC เสร�มสรางเคร�อขายการว�จัย
            วช. รวมกับ AASSREC เสร�มสรางเคร�อขายการว�จัย
        และความรวมมือดานสังคมศาสตรในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก
        และความรวมมือดานสังคมศาสตร



















               สํานักงานการว�จัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา ว�ทยาศาสตร  ระบบการศึกษา วิจัยและนวัตกรรมของไทย กลไกการขับเคลื่อนผลงานวิจัย
        ว�จัยและนวัตกรรม ร‹วมกับ Association of Asian Social Science Research  และนวัตกรรมไปใชประโยชนในลักษณะ Demand Driven และรูปแบบการ
        Councils (AASSREC) จัดการประชุมระดับภูมิภาค เร�่อง “Social Science  ถายทอดงานวิจัยและนวัตกรรมใหเขาถึงผูใช ซึ่งอาจเปนบริษัทเอกชน หรือ
        Funding and Collaboration in the Indo-Pacific: Regional Summit” ระหว‹าง  ชุมชนทองถิ่น และ ดร.ฐิตาภรณ กนกรัตน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา
        วันที่ 9 - 10 พฤษภาคม 2567 ณ โรงแรม Eastin Grand Hotel Phayathai  ธนบุรี นักวิจัยผูไดรับทุนจาก วช. ไดรวมเปน Chair ในหัวขอ “Funding Social
        กรุงเทพมหานคร โดย นายสมปรารถนา สุขทว� รองผูŒอํานวยการสํานักงานการว�จัย Science Research in the Indo-Pacific: A focus on Ethics & AI” ซึ่ง
        แห‹งชาติ กล‹าวตŒอนรับผูŒเขŒาร‹วมการประชุม พรŒอมดŒวย Prof. Dhananjay Singh  เปนการหารือเกี่ยวกับจริยธรรมและการกํากับดูแลการใช AI ในการวิจัยดาน
        ประธานคณะกรรมการบร�หาร AASSREC คุณพ�นิจ จันทรังสี ที่ปร�กษาระดับภูมิภาค สังคมศาสตร ความทาทายและการรักษาความสุจริตของขอมูล การดําเนิน
        ดŒานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร สํานักงานยูเนสโกส‹วนภูมิภาค กรุงเทพมหานคร  งานวิจัยในกลุมชุมชนเปราะบางอยางมีจริยธรรม และการปรับวิถีการขอ
        และ Dr. Matthew L. Wallace ผูŒเชี่ยวชาญอาวุโส International Development  ความยินยอม (Informed Consent) ในกระบวนการวิจัยดานสังคมศาสตรที่
        Research Centre (IDRC) ประเทศแคนาดา โดยมีผูŒเขŒาร‹วมการประชุมจาก  เกี่ยวของกับมนุษยใหเขากับบริบทจริยธรรมรวมสมัย เปนตน และในการประชุม
        23 ประเทศ ไดŒแก‹ ไทย ปาป˜วนิวกินี คาซัคสถาน คีรกีซสถาน อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย  วันแรก นางสาวสิริธรรม ณ ระนอง ผูเชี่ยวชาญดานระบบวิจัย วช. เปนผูแทน
        อินเดีย กัมพ�ชา เกาหลีใตŒ มาเลเซีย เนปาล บังกลาเทศ จ�น ศร�ลังกา เว�ยดนาม  ในการกลาวสรุปประเด็นสําคัญจากการประชุม
        ฟ�ลิปปนส ลาว มองโกเลีย ญี่ปุ†น ฟ�จ� อิตาลี แคนาดา และฝรั่งเศส   นอกจากนี้ ในการประชุมดังกลาวยังไดมีการแลกเปลี่ยนมุมมองของ
               การประชุมในครั้งนี้เปนกิจกรรมสวนหนึ่งภายใตโครงการ “Boosting  หนวยงานใหทุนในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟกในประเด็นตาง ๆ อาทิ
        Social Sciences and their Contribution to Better Lives across the   - ประเด็นเรื่อง “Knowing Social Sciences: Can Evidence Make
        Indo-Pacific” ซึ่ง AASSREC ไดรับงบประมาณสนับสนุนจาก International  Asia’s Research Systems More Performing and More Resilient?” โดย
        Development Research Centre (IDRC) ประเทศแคนาดา เพื่อสงเสริม เปนการหารือเกี่ยวกับความสําคัญของขอมูลหลักฐาน (Evidence) ที่เขมแข็ง
        ศักยภาพการวิจัยดานสังคมศาสตรในภูมิภาคอินโด-แปซิฟก โดยประกอบ ในระบบการวิจัยดานสังคมศาสตร เพื่อใหผูกําหนดนโยบายหรือผูที่นําผลการ
        ไปดวยกิจกรรมตาง ๆ ภายใตโครงการ ไดแก โครงการวิจัยดานสถานภาพ วิจัยไปใชประโยชนสามารถนําผลการวิจัยไปใชในการแกไขปญหาสังคมไดอยาง
        การวิจัยสังคมศาสตรของภูมิภาค การประชุมหนวยงานใหทุนดานสังคมศาสตร  รอบคอบและเกิดประโยชนสูงสุด
        การใหทุนโครงการวิจัยดานสังคมศาสตรในหัวขอที่มีความสําคัญในระดับ  - ประเด็นเรื่อง “Collaborating with Impact” โดยมีการนําเสนอ
        ภูมิภาค การใหทุนสนับสนุนกิจกรรมความรวมมือระหวางนักวิจัยในภูมิภาค  ตัวอยางโครงการความรวมมือดานการใหทุนวิจัยที่ประสบความสําเร็จ โดย
        การจัดทําชุดเอกสารเชิงนโยบาย (Working papers) โครงการจับคูใหคําปรึกษา ไดมีการนําเสนอรูปแบบโครงการความรวมมือดานการวิจัยที่ประสบความสําเร็จ
        ระหวางนักวิจัยอาวุโสและนักวิจัยรุนใหมในภูมิภาค (Regional Mentoring  และสามารถผลักดันใหเกิดผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอสังคมและการกําหนด
        Program) การจัดการประชุมใหญของ AASSREC ณ ประเทศอินเดียในป  นโยบาย เชน Belmont Forum, Global Development Network (GDN) และ
        2568 และเงินสนับสนุนคาบํารุงสมาชิก AASSREC แกประเทศรายไดตํ่า โดย โครงการความรวมมือตาง ๆ กับหนวยงานในภูมิภาคเอเชียของรัฐบาลสวีเดน
        การประชุมในครั้งนี้มุงเนนการบูรณาการรวมกัน เพื่อประโยชนทางดานวิชาการ เปนตน รวมถึงความทาทายที่แฝงอยูในโครงการความรวมมือระหวางประเทศ
        ในการพัฒนาภูมิภาคอินโด–แปซิฟกอยางยั่งยืน                   - ประเด็นเรื่อง “Building a Community of Practice through
               นางสาวสตตกมล เกียรติพานิช ผูอํานวยการกองบริหารทุนวิจัยและ AASSREC” โดยเปนการหารือการสรางชุมชนการวิจัยดานสังคมศาสตรที่
        นวัตกรรม 2 วช. ไดรวมนําเสนอใน Session ที่ 2 ภายใตหัวขอ “Innovation,  เขมแข็งในภูมิภาคอินโด-แปซิฟก ผานการเปนสมาชิกของ AASSREC รวมทั้ง
        Impact & Translation” ซึ่งเปนการหารือเกี่ยวกับกลไกการนําผลการวิจัยไปใช โอกาสในการเชื่อมโยงกันระหวางโปรแกรมการสนับสนุนการวิจัยของ AASSREC
        ประโยชนและการสรางผลการวิจัยใหเกิดผลกระทบสูงสุด โดยไดนําเสนอ เรื่อง  และโปรแกรมการจัดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Management of Social
        “Fostering Transformative Impact & Translation: NRCT’s Strategies  Transformation: MOST) ขององคการยูเนสโก
        for Translating Research and Innovation” ซึ่งยกกรณีการปรับโครงสราง








        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
        National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16