Page 4 - จดหมายข่าว วช 160
P. 4

งานวิจัยสนองพระราชดําริ

                                                 ‘หังสรัตน’
                                                 ‘หังสรัตน’ พรรณไมพระราชทาน พรรณไมพระราชทาน พรรณไมพระราชทาน






























               สมเด
               สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจŒา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ็จพระกนิษฐาธิราชเจŒา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ  สายพันธุหงสเหินที่สวยงาม จํานวน 3 สายพันธุ ไดแก พันธุ MJNRCT
               สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจŒา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ  สายพันธุหงสเหินที่สวยงาม จํานวน 3 สายพันธุ ไดแก พันธุ MJNRCT
        สยามบรมราชกุมาร� ทรงตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาและ 1 พันธุ MJNRCT 2 และ พันธุ MJNRCT 3 กอใหเกิดเปนหงสเหิน
        ปรับปรุงพันธุพ�ช และทรงตระหนักถึงความสําคัญของพันธุกรรมพ�ชต‹าง ๆ  สายพันธุใหม
        ที่มีอยู‹ในประเทศไทย พระองคทรงมีพระราชดําร�ใหŒสํารวจและรวบรวม  ในการนี้ วช. ไดขอพระราชทานชื่อหงสเหินสายพันธุใหม
        พันธุกรรมพ�ชที่มีแนวโนŒมว‹าใกลŒสูญพันธุ และสรŒางกิจกรรมเพ�่อใหŒมีการ จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
        ร‹วมคิด ร‹วมปฏิบัติในอันที่จะนําประโยชนมาถึงประชาชนชาวไทย ตลอดจน สยามบรมราชกุมารี และไดรับพระราชทานชื่อวา ‘หังสรัตน’ ตั้งแต
        ใหŒมีการจัดทําระบบขŒอมูลพันธุกรรมพ�ชใหŒแพร‹หลายสามารถสื่อถึงกัน วันที่ 19 พฤษภาคม 2559 ดวยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ นับเปน

        ไดŒทั่วประเทศ                                         พระมหากรุณาธิคุณอยางหาที่สุดมิได
               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา    “หงสเหิน” มีชื่อพฤกษศาสตร Globba hybrida มีลักษณะ
        วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดใหการสนับสนุนทุนวิจัยแก ทางพฤกษศาสตรของพืชชนิดนี้ เปนพืชกลุม Curcuma มีลําตน
        ทีมวิจัยมหาวิทยาลัยแมโจ ดําเนินการปรับปรุงพันธุพืช ในโครงการ ใตดินทําหนาที่สะสมนํ้าและอาหารเรียกวา เหงา (Rhizome) ตาขาง
        วิจัยเรื่อง “การพัฒนาพันธุหงสเหินเพื่อการพาณิชย” โดยมี ผูชวย ของเหงาจะเจริญเติบโตไปเปนลําตนเทียม (pseudomanas)
        ศาสตราจารย ดร.เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี และ ดร.ธีรนิติ พวงกฤษ  ที่เห็นอยูเหนือดิน ใบ มีลักษณะเปนใบเดี่ยวขอบใบเรียบ และกานใบ
        เปนผูดําเนินโครงการ ฯ นอกจากนี้ ยังไดมีการถายทอดเทคโนโลยี จะรวมตัวกันแนนเปนลําตนเทียม ชอดอก เปนแบบชอแนน (compact

        การผลิตหงสเหินใหเกษตรกรที่อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม ที่คณะ spike) มีใบประดับ (bract) โอบรอบชอดอกทําใหเห็นใบประดับเรียง
        นักวิจัยไดพัฒนาและคัดเลือกสายพันธุหงสเ หินใหมขึ้น ทําใหได ซอนกันเกิดเปนชอที่มีลักษณะเปนทรงกระบอก หรือทรงกระสวย
                                                              ภายในเปนที่อยูของดอกจริงประมาณ 2 - 7 ดอก สวนใบประดับ
                                                              สวนบน (coma bract) มีลักษณะรูปรางและสีสันแตกตางจาก
                                                              ใบประดับปกติ เกสรตัวผูวงนอกเปนหมัน 3 อัน ถูกเปลี่ยนรูปเปนกลีบ
                                                              3 กลีบ เรียกวากลีบสเตมิโนด (staminode) โดยหนึ่งกลีบเปลี่ยนไป
                                                              เปนรูปที่เรียกวาปาก (lip) สําหรับเกสรเพศเมียอยูสูงกวาอับละออง
                                                              เกสรเล็กนอย โดยแทรกอยูระหวางอับละอองเกสร ผลและเมล็ด
                                                              ผลเมื่อพัฒนาจะแบงเปนรูป 3 พู อยางชัดเจนภายในแตละพูเปนที่อยู

                                                              ของเมล็ด ซึ่งมีเมล็ดอยูราว 25 - 150 เมล็ดขึ้นกับชนิด ผลแก
                                                              มีอายุประมาณ 1 - 2 เดือน โดยผลแกเต็มที่จะมีผนังบางและใสจน
                                                              สามารถมองเห็นได เมล็ดมีรูปรางคลายหยดนํ้าหรือเมล็ดองุนขนาด
                                                              ยาวประมาณ 0.5 เซนติเมตร เมล็ดที่แกเต็มที่จะมีสีนํ้าตาลเขม
                                                              รากเปนระบบรากฝอย รากสวนหนึ่งมีปลายบวมพองออก มีลักษณะ
                                                              เปนตุมทําหนาที่เก็บสะสมอาหาร
                                                                                      สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          4                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9