Page 5 - จดหมายข่าว วช 160
P. 5

งานวิจัยสนองพระราชดําริ



         การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและขยายพันธุ “มันม‹วง”“มันม‹วง”
         การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและขยายพันธุ
                                   เพ�่อลดการสูญพันธุ
                                   เพ�่อลดการสูญพันธุ
























                                                                     จากการศ
                                                                     จากการศึกษาวิจัยโครงการดังกลาวพบวา มันปา มีคุณคาึกษาวิจัยโครงการดังกลาวพบวา มันปา มีคุณคา
               สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจŒา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ   จากการศึกษาวิจัยโครงการดังกลาวพบวา มันปา มีคุณคา
        สยามบรมราชกุมาร� ทรงตระหนักถึงความสําคัญของป†าไมŒประเทศไทย เพราะ ทางโภชนาการที่ดี อุดมไปดวยคารโบไฮเดรต โปรตีน นํ้าตาล วิตามิน
        ถึงแมŒว‹าประเทศไทยจะมีความหลากหลายทางชีวภาพและสภาพทางภูมิอากาศ  แคลเซียม โซเดียม ไฟเบอรสูง แคโรทีนอยด และแอนโทไซยานินรวมอยู
        และตั้งอยู‹ภายใตŒอิทธิพลของมรสุมสองชนิด คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใตŒ และ ทั้งนี้ ยังมีสารตานอนุมูลอิสระในการปองกันและยับยั้งโรคเบาหวาน
        มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จ�งทําใหŒมีความหลากหลายของระบบนิเวศและ รวมถึงสามารถลดระดับไขมันในเลือด นอกจากนี้การรับประทานมันเลือด
        พรรณพ�ชหลายชนิด แต‹ป˜จจ�บันพ�้นที่ป†าไมŒมีสภาพเสื่อมโทรม และมีแนวโนŒม ยังสามารถชวยเพิ่มฮอรโมนเพศและชวยลดความเสี่ยงของโรคมะเร็ง
        ลดลงอย‹างมาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจŒา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ  เตานม โรคหลอดเลือดหัวใจ ไดอีกดวย
        สยามบรมราชกุมาร� ทรงทอดพระเนตรเห็นป˜ญหา ทรงไดŒรับสั่งใหŒดําเนินงาน  โดยทีมวิจัยไดทําการสํารวจและจําแนกชนิดของมันปา พบวา
        อนุรักษและฟ��นฟ�ป†าไมŒเพ�่อเปšนแนวทางหลักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  มันปา มีอยูดวยกัน 13 ชนิด ในเขตภาคเหนือตอนลางของประเทศ แบง
        อาทิ โครงการอนุรักษพันธุกรรมพ�ชอันเนื่องมาจากพระราชดําร� สมเด็จ ตามลักษณะการใชประโยชนได 7 ชนิด โดยแบงเปนการใชประโยชนทาง
        พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมาร� (อพ.สธ.) และการจัดตั้ง อาหาร 5 ชนิด อาทิ กลอย มันเลือด มันแซง มันมือเสือ และมันคันขาว
        ธนาคารพ�ชพรรณ รวมถึงทรงสนับสนุนใหŒมีการรวบรวมพันธุพ�ชเฉพาะถิ�น  และการใชประโยชนทางเภสัชกรรม 2 ชนิด ไดแก กลิ้งกลางดง และยั้ง
        พ�ชหายากและใกลŒสูญพันธุ ตลอดจนประโยชนของพ�ชชนิดต‹าง ๆ การทํา  ซึ่งผลสําเร็จจากโครงการวิจัยนี้มีสวนชวยปองกันการสูญพันธุ
        เกษตรกรรม และเพ�่อสนองพระราชดําร�โครงการอนุรักษพันธุกรรมพ�ชอันเนื่อง เนื่องจากสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงสงเสริมใหคนในชุมชน
        มาจากพระราชดําร� สํานักงานการว�จัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  ตระหนักและหวงแหนที่จะรวมกันอนุรักษทรัพยากรทางพันธุกรรม
        ว�ทยาศาสตร ว�จัยและนวัตกรรม จ�งไดŒสนับสนุนทุนว�จัยเพ�่อร‹วมอนุรักษและ ตลอดจนใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมภายใน
        พัฒนาทรัพยากรพันธุกรรมพ�ชและทรัพยากรใหŒเกิดประโยชนกับประเทศชาติ ประเทศอยางยั่งยืน สงเสริมความรูการใชประโยชน เปนวิธีการหนึ่งที่จะ
               วช. ในฐานะหนวยงานสนองพระราชดําริโครงการอนุรักษ ชวยสรางความมั่นคงทางอาหารบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ
        พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ตั้งแตป พ.ศ. 2535 อยางตอเนื่อง เพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยไดอยางยั่งยืนตอไป
        จนถึงปจจุบัน จึงสนับสนุนทุนวิจัยให นายพุทธพงษ สรอยเพชรเกษม  ในอนาคต
        นักวิชาการเกษตร รองศาสตราจารย ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท แหง
        คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัย
        นเรศวร ทําการศึกษาวิจัยเรื่องการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและ
        ขยายพันธุมันมวง (Dioscorea alata L.) เพื่อการใชประโยชนอยางยั่งยืน
        สนองโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จ
        พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) เพื่อศึกษาความ
        หลากหลายทางชีวภาพของมันปาดวยเทคนิคเครื่องหมายดีเอ็นเอ ศึกษา
        วิธีการขยายพันธุและวิธีการปลูกมันปาเพื่อใหไดผลผลิตที่ดี ศึกษาวิธีการ
        ทําเมล็ดเทียมสําหรับการอนุรักษพันธุกรรมและขยายพันธุมันปา พรอม
        วิเคราะหปริมาณสาระสําคัญ ไดแก saponin และ diosgenin พรอม
        สรางแปลงรวบรวมสายพันธุมันปาสําหรับเปนธนาคารพันธุกรรมพืชตอไป
        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
        National Research Council of Thailand (NRCT)                                                          5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10