Page 4 - จดหมายข่าว วช. ฉบับที่ 55
P. 4
(ต่อจากหน้า 3)
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลที่สูงขึ้น ตลอดจนสามารถท�าให้การวิจัย เสร็จสิ้นแล้ว ซึ่งนอกเหนือจากรายงานการวิจัย ยังจะได้มีฐานข้อมูล
น�าไปสู่ความรู้ องค์ความรู้ที่สามารถน�าไปใช้แก้ปัญหา หรือพัฒนา บทความวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่จากผลการวิจัยที่ได้รับทุนด้วย
ประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงสร้างความมั่นคงและเจริญ 2.2 ฐานข้อมูลนักวิจัย ที่มีลักษณะเป็น Real – Time
ก้าวหน้าให้กับแต่ละองค์กร ทั้งนี้โดยความร่วมมือจากสถาบันคลัง และเชื่อมกับข้อ 2.1 ที่หากมีข้อมูลงานวิจัยที่เสร็จสิ้นเพิ่มเติมขึ้น
สมอง ในข้อมูลนักวิจัยโดยไม่ต้องบันทึกเพิ่มใหม่
ในเรื่องนี้เราเริ่มที่ คลังขอมูลงานวิจัยไทย (Thai 2.3 ฐานข้อมูลผลงานวิจัยที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์
National Research Repository, TNRR) ที่จ�าแนก แยกออกมาแต่เป็นการจ�าแนกงานวิจัยและแบ่งหมวดหมู่ไว้เพื่อให้
ออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ 1. งานวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้ว 2. ข้อมูล สามารถสืบค้น ค้นคืน เพิ่มเติมประเด็นที่ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม
นักวิจัย และระบบค้นหาผู้เชี่ยวชาญ 3. ข้อมูลงานวิจัยที่ ต้องการ
ก�าลังด�าเนินการ 4. ข้อมูลงานวิจัยที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์/ NRMS แบบนี้ก่อนจะเขียนโครงการขอทุนวิจัย สามารถ
เชิงอุตสาหกรรม 5. การให้บริการขอทุน ณ จุดเดียว เพื่อให้ได้ ตรวจสอบได้ว่ามีใครท�าวิจัยในเรื่องที่ท่านสนใจอยู่ไหม แนวคิดที่ท่าน
ข้อมูล ข้อเสนอโครงการวิจัย จะวิจัย มีใครท�าไปแล้วหรือก�าลังท�าอยู่ไหม อย่างไร
ทั้ง 5 ส่วนนั้น 3 ส่วนถือได้ว่าเป็นคลังข้อมูลหรือ Reposi- นักวิจัย:
tory จริง แต่อีก 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 3 และ 5 นั้นไปใช้ประโยชน์ใน - เมื่อจะขอทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกของท่าน
การบริหารจัดการ ดังนั้น คอบช. จึงเห็นพ้องกันว่า ถึงแม้เริ่มมา ทั้งจาก ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถาบันวิจัย
จาก TNRR และแบ่งเป็น 5 ส่วน ก็เห็นชอบให้ปรับเป็น 2 ระบบ ระบบสาธารณสุข (สวรส.) ส�านักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร
ที่มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน ดังนี้ (องค์การมหาชน) (สวก.) ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
1. ระบบบริหารงานวิจัยแหงชาติ (National เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ วช. ท่านใช้ 1) แบบฟอร์ม
Research Management System, NRMS) ประกอบด้วย เดียวกัน 2) วิธีการส่งข้อเสนอโครงการวิจัย ส่งที่เดียว 3) ดึงข้อมูล
1.1. แบบฟอร์มกลาง นักวิจัยมาใส่ในแบบฟอร์มได้เลย
1.2. การรับข้อเสนอโครงการวิจัยที่จุดเดียว (แล้วแต่ - เมื่อส่งเรื่องขอทุนแล้ว สามารถติดตามได้ว่า การ
แหล่งทุนจะไปกระจายต่อเองอย่างรวดเร็ว) พิจารณาอยู่ในขั้นตอนใด ผ่านหรือไม่ผ่านอย่างไร สะดวกและ
1.3. กระบวนการในการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิ รวดเร็วขึ้น
1.4. ข้อมูลโครงการวิจัยที่เสนอขอ (ถ้ามี) ผูบริหารระดับคณะ/มหาวิทยาลัย/กรม/กระทรวง:
1.5. ข้อมูลโครงการวิจัยที่ได้รับทุน - ท่านสามารถติดตามและรวบรวมข้อมูลนักวิจัย
1.6. ระบบการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิ โครงการวิจัยที่เสนอขอรับทุนโครงการวิจัยที่ผ่านการพิจารณาได้รับ
1.7. ระบบติดตามความก้าวหน้าและการเบิกจ่ายทุน การสนับสนุนได้รวดเร็ว จ�าแนกวิเคราะห์ แหล่งทุน สาขาวิจัย
1.8. การรายงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ - หากท่านประสงค์จะน�าระบบ NRMS ไปใช้ในระดับ
ระบบนี้จะเชื่อมต่อกับ TNRR ในส่วนฐานข้อมูลนักวิจัย มหาวิทยาลัยหรือคณะ หรือ กรม คอบช. จะไปติดตั้งระบบให้กับ
ที่จะดึงเอาข้อมูลเข้ามาใส่ในแบบฟอร์มแบบอัตโนมัติ โดยอ้างอิง หน่วยงานของท่าน โดยท่านไม่ต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการ
จากตัวนักวิจัย (ที่มีข้อมูลในระบบ) และเชื่อมโยงกับ TNRR ใน จ้างเขียนโปรแกรม
ส่วนฐานข้อมูลงานวิจัยที่ด�าเนินการเสร็จสิ้นแล้ว คือ เพื่อหาผล แบบนี้ยังอ�านวยความสะดวกแก่นักวิจัยว่า ถึงเป็นการ
การวิจัยที่จะถูกจัดเก็บเพื่อให้สามารถสืบค้น ค้นคืนได้จากระบบ ขอทุนจากภายในหน่วยงาน ก็ใช้แบบฟอร์มเดียวกันในระดับ
TNRR เพื่อการใช้ประโยชน์ ประเทศ ดังนั้น เมื่อจะเปลี่ยนแปลงไปขอรับทุนจากแหล่งทุนที่
2. ระบบคลังขอมูลงานวิจัยไทย (TNRR) ประกอบด้วย แตกต่างไป ก็ใช้แบบฟอร์มเดิมได้เลย (อาจเพิ่มเติมข้อมูลบางส่วน
2.1 การเชื่อมโยงฐานข้อมูลผลการวิจัยที่ด�าเนินการ แต่ส่วนใหญ่ใช้แบบฟอร์มเดิมที่จัดท�าไว้แล้ว)
หมายเหตุ: ขณะนี้ NRMS เริ่มใชกับทุนงบประมาณแผนดิน ปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ทุนวิจัยแบบมุงเปาฯ งบประมาณ ป พ.ศ.
2558 และจะไดขยายไปใชในแตละแหลงทุนตอไปในอนาคต รวมถึงในแตละหนวยงานระดับมหาวิทยาลัย กรม ดวย
4 4 สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT)
National Research Council of Thailand (NRCT)